Page 29 - 30. economy 31001
P. 29

20 | ห น้ า



               ของแตละคน แตละชุมชนที่แตกตางกัน การลองทํา ลองใช ใหเห็นผลกระจางชัดแลวจึงบอกตอ

               “สาธิตพรอมอธิบาย” จึงเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติของวิทยากรตัวคูณพลังงาน หรือนักวางแผน

               พลังงานชุมชนที่ไมหวงแหนความรู เกิดเครือขายวิทยากรตัวคูณพลังงานขึ้นอยูในทุกกลุมคนของชุมชนไมวา

               จะเปนอันดับแรก คือ แกนนํา ตอมาคือชาวบานที่สนใจ และนําไปทําจริงจึงขยายผลตอกับเพื่อนบานใกล

               เคียงหรือในหมูญาติมิตร กับอีกกลุม คือ เยาวชนที่เปนพลังเสริมแตยั่งยืน

                                                                             ื
                      ภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ทําตามแผนพลังงานชุมชนอยางแข็งขัน คอ เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต

               สรางวิถีพลังงานชุมชนที่ไปไดดีกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง  จุดเดนของเทคโนโลยีพลังงานที่ถูกนําไป

               ปรับใช ไมไดเกิดประโยชนเฉพาะตัวผูปฏิบัติ แตยังสรางผลดีตอชุมชนคนรอบขาง และสังคมประเทศโดย

               รวมเมื่อเราสามารถสรางทางเลือกการใชพลังงานทดแทนขึ้นไดเอง และมีการจัดการอยางครบวงจร การ

               จัดการพลังงานอยางยั่งยืนจึงเกิดขึ้นไดภายใตสองมือของทุกคนที่ชวยกัน ไมตองหวั่นวิตกกับภาวะความไม

               แนนอนของน้ํามัน ที่ตองนําเขาจากตางประเทศอีกตอไป

                      เมื่อยอมรับวาพลังงานเปนเรื่องใกลตัวการจัดการพลังงานของชุมชนที่ชวยเสริมสรางความ

               เขมแข็งชุมชนจึงเกิดขึ้นในหลายดาน อาทิ


                      1. ดานเทคโนโลยีพลังงานชุมชนเกิดผลชัดเจนในหลายตําบล ตัวอยางเชนชาว

               อบต.พลับพลาชัย จ.สุพรรณบุรี สิ่งที่เกิดคือความคึกคักของชุมชนกับการเลือกใชเทคโนโลยีประหยัด

               พลังงาน การทําถานอัดแทงจากขี้เถาแกลบดําของโรงไฟฟาชีวมวลในพื้นที่คลายกันกับ อบต.นาหมอบุญ

               จ.นครศรีธรรมราช ที่ อบต.และบรรดาแกนนําพรอมใจกันผลักดันเต็มที่ ทั้งคน เครื่องมือ และงบประมาณ

               ทําใหยังคงใชพลังงานเทาเดิมแตคาใชจายดานพลังงานกลับลดลงเรื่อยๆ โดยมีเทคโนโลยีเพื่อการจัดการ

               พลังงานในแบบเฉพาะของคนนาหมอบุญเปนเครื่องมือ

                      2. ดานการพัฒนาประชาธิปไตย  (การมีสวนรวม)  ตัวอยางเชน  อบต.ถ้ํารงค  อ.บานลาด


               จ.เพชรบุรี มีจุดเดนของการขยายผลแผนพลังงานชุมชน ผานกระบวนการจัดทําแผนพลังชุมชนทุกดาน

               เกิดขึ้นจากการมีสวนรวมของชาวชุมชน ที่มีกิจกรรมพลังงานแทรกอยูในวิถีชีวิตประจําวัน และวิถีอาชีพที่

               เห็นตรงกันวาตองเปนไปเพื่อการอนุรักษพลังงานดวย เชน กิจกรรมทองเที่ยวชุมชนที่ใหใชจักรยานแทนการ

               ใชรถยนต

                                            ิ
                      3. ดานการพัฒนาวิสาหกจชุมชน (กลุมอาชีพดานพลังงาน) มี 7ชุมชนที่ไดรับการนําเสนอวาเกิด
               รูปธรรมจริง คือ อบต.หนองแซง อ.หันคา จ.ชัยนาท อบต.หนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34