Page 35 - 30. economy 31001
P. 35
26 | ห น้ า
เรื่องที่ 2 การจัดทําแผนชุมชน
การแกปญหาชุมชนที่เปนรูปแบบและขั้นตอน นาจะใชการแกปญหาในรูปแบบชุมชนโดยชุมชนจะ
ตองมีคณะทํางานที่มาจากหลายภาคสวน เขามามีสวนรวมในการแกปญหาของชุมชนดวยตนเอง โดยนํา
เอาปญหา และประสบการณของชุมขน มาวิเคราะห จัดลําดับและแนวทางการแกไข มารวมกัน
พิจารณา ปญหาในบางเรื่อง ชุมชนสามารถแกไขไดดวยตนเอง ปญหาใหญๆ และซับซอนอาจตองจัดทําเป
นโครงการ ประสานงาน หนวยงาน องคการภาครัฐ หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือหนวยงานที่มี
การรับผิดชอบ และมีศักยภาพโดยตรง ตลอดจนโครงการของรัฐบาล
การจัดทําแผนชุมชนนาจะเปนเนื้อหา สาระหนึ่งที่ ชุมชนจะตองไดรับการฝกฝน เพราะใน
ปจจุบันนี้ ทางราชการไดใชแนวทางของแผนชุมชนเปนแนวทางในการพัฒนา ไมวาจะเปนโครงการ
กองทุนเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ SML และโครงการขององคการตางๆ แมกระทั่ง องคการปกครองสวน
ทองถิ่น
เรื่องที่ 3 การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแกปญหาชุมชน
ดานจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง พึ่งตนเองได / มีจิตสํานึกที่ดี / เอื้ออาทร / ประนีประนอม นึกถึงผล
ประโยชนสวนรวมเปนหลัก
ดานสังคม ชวยเหลือเกื้อกูลกัน / รูรักสามัคคี / สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและชุมชน
ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช
ทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด / ฟนฟูทรัพยากรเพื่อใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด
ดานเทคโนโลย ี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอม
(ภูมิสังคม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบานเองกอน / กอใหเกิดประโยชนกับคนหมูมาก
การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งพาตนเอง เปนหลัก การทําอะไรเปนขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
- พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพรอมรับความ
เปลี่ยนแปลง
- การสรางสามัคคีในเกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลในแตละสัดสวนแตละระดับ
- ครอบคลุมทั้งดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมถึงเศรษฐกิจ
การจัดระเบียบชุมชน
1. การชวยตนเอง (Self – help) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ชุมชนคนหาปญหา รับสมัครสมาชิก
และใหบริการกันเอง โดยรับความชวยเหลือจากภายนอกใหนอยที่สุด