Page 304 - CPS_Plan_2565_kalasin_Final
P. 304
5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด)
5.1. สหกรณ์มีการกำหนดระเบียบว่าด้วยการรับ-จ่ายและเก็บรักษาเงินขึ้นถือใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานโดยกำหนดให้เก็บรักษาเงินสดไม่เกินวันละ 5,000.00 บาท และคณะกรรมการดำเนินการของ
สหกรณ์มอบหมายให้ อดีตประธานกรรมการเป็นผู้ทำหน้าที่รับ-จ่ายและเก็บรักษาเงินสด ณ วันสิ้นปีเก็บรักษา
เงินเกินกว่าวงเงินที่ระเบียบกำหนด
5.2. กรรมการไม่สามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินได้
6) ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) –ไม่มี-
ผลการวิเคราะหข้อมูลของสหกรณ์
์
การวิเคราะห์ SWOT Analysis
จุดอ่อน จุดแข็ง
-สมาชิกขาดความรู้ทางวิชาการด้านการเกษตรแผน -มีทุนดำเนินงานเพียงพอ
ใหม่เพื่อการพัฒนา -สมาชิกอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเดียวกันทำให้ง่ายต่อการ
-ราคาสินค้าเกษตรของสหกรณ์ต้องพึงพาพ่อค้า ประสานงาน
-สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอาย ุ
-สมาชิกยังไม่เข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ และ
วิธีการสหกรณ์ หรือบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
อุปสรรค โอกาส
ิ
-ภัยธรรมชาต (ฝนแล้ง น้ำท่วม พายุ ฯ) -รัฐบาลให้การสนับสนุนการรวมกลุ่มโดยเฉพาะการ
-มีพ่อค้าคนกลางในพื้นที่เข้าถึงแหล่งชุมชน รวมกันเป็นสหกรณ ์
-มีสถาบันการเงินเป็นคู่แข็งภายในหมู่บ้าน -การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน
-วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการดำเนินการ -หน่วยงานทางราชการให้การสนับสนุน
ส่งผลกระทบต่อการได้มาซึ่งกรรมการที่มีศักยภาพ -ระเบียบที่ออกโดยนายทะเบียนสหกรณ์ถือเป็น
และความพร้อม กรอบแนวทางในการดำเนินงานของสหกรณ์ได้
-ค่าครองชีพสูงส่งผลให้สมาชิกมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นท า
ให้เกิดการผิดนัดช าระหนี้
1. ความพียงพอของเงินทุน
สหกรณ์มีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น จำนวน 1,366,172.46 บาท ทุนดำเนินงานส่วนใหญ่ได้มาจาก
แหล่งเงินทุนภายในร้อยละ 91.01 ประกอบด้วยเงินรับฝากจากสมาชิก ร้อยละ 0.32 และเป็นทุนของสหกรณ ์
ร้อยละ 90.69 มาจากแหล่งเงินทุนภายนอก ร้อยละ 8.99 หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอของ
เงินทุนต่อความเสี่ยงแล้ว สหกรณ์ไม่มีความเสี่ยงด้านเงินทุน เนื่องจากมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 0.10 เท่า ทุน
ของสหกรณสามารถคุ้มครองหนี้ได้ทั้งหมด
์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร