Page 368 - CPS_Plan_2565_kalasin_Final
P. 368
5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด)
กลุ่มเกษตรกรไม่สามารถบันทึกบัญชีและจัดทำงบการเงินได้ แต่ได้รับความช่วยเหลือจาก
เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการเป็นผู้จัดทำบัญชีและงบการเงิน
6) ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) –ไม่มี-
ผลการวิเคราะหข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
์
การวิเคราะห์ SWOT Analysis
จุดอ่อน จุดแข็ง
-สมาชกขาดความรู้ทางวิชาการด้านการเกษตรแผน -สมาชิกอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเดียวกันทำให้ง่ายต่อการ
ิ
ใหม่เพื่อการพัฒนา ประสานงาน
-ราคาสินค้าเกษตรของสหกรณ์ต้องพึงพาพ่อค้า -คณะกรรมการมีความเสียสละ
-สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอาย ุ
-สมาชิกยังไม่เข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ และ
วิธีการสหกรณ์ หรือบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
-มีทุนดำเนินงานไม่เพียงพอ
อุปสรรค โอกาส
ิ
-ภัยธรรมชาต (ฝนแล้ง น้ำท่วม พายุ ฯ) -รัฐบาลให้การสนับสนุนการรวมกลุ่มโดยเฉพาะการ
-มีพ่อค้าคนกลางในพื้นที่เข้าถึงแหล่งชุมชน รวมกันเป็นสหกรณ ์
-มีสถาบันการเงินเป็นคู่แข็งภายในหมู่บ้าน -การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน
-หน่วยงานทางราชการให้การสนับสนุน
1. ความพียงพอของเงินทุน
่
จากการพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอของเงินทุนตอความเสี่ยงแล้วนับว่ากลุ่มเกษตรกรมี
ความเสี่ยงด้านเงินทุน เนื่องจากทุนของกลุ่มเกษตรกรเองไม่สามารถคุ้มครองหนี้ได้ หากพิจารณาการถือหุ้น
ของสมาชิกที่มีเพียง 20,650.00 บาท กลุ่มเกษตรกรควรระดมทุนโดยให้สมาชิกถือหุ้นเพิ่มมากขึ้น เพื่อ
เสริมสร้างความเข้มแข็งของเงินทุน
2. คุณภาพของสินทรัพย์
กลุ่มเกษตรกรมีสินทรัพย์ทั้งสิ้น 297,037.88 บาท เป็นสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งจำนวน โดยอยู่ใน
รูปแบบของเงินสด จำนวน 291,862.00 บาท และเงินฝากธนาคาร จำนวน 5,175.88 บาท สินทรัพย์ที่มีอยู่ได้
ถูกนำไปใช้ในการดำเนินงานเพื่อก่อให้เกิดรายได้ สร้างผลตอบแทนให้แก่กลุ่มเกษตรกร
3. สภาพคล่อง
กลุ่มเกษตรกรมสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งสิ้น 297,037.88 บาท มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.32 เท่า
แสดงให้เห็นว่ากลุ่มเกษตรกรมีสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นประกันการรับชำระหนี้ได้ทั้งจำนวน ซึ่งนับว่าสภาพ
คล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร