Page 8 - ชลนิชา สว่างศรี 4/1
P. 8

ทานตะวันกับแสงอาทิตย

















    ดอกทานตะวันหันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์ เป นการตอบสนองแบบ ( Positive

   Phototropism ) [15] คือการตอบสนองต่อสิ งเร้าที มากระตุ้นเพียงด้านเดียว
    เกิดจากฮอร์โมน ออกซิน ( Auxin ) [16] เพราะแสงมีอิทธิพลทําให้การกระจา

   ยตัวของ(ออกซิน)เปลี ยนแปลงไปจากปกติ เมื อแสงส่องมายังพืช ด้านที ได้รับ

   แสงจะมีออกซินน้อยเพราะออกซินได้หนีไปอยู่ด้านที มืดกว่า ด้านที มืดจึงมีการ

     ยืดตัวและมีการเจริญเติบโตมากกว่าด้านที รับแสง ยอดของพืชจึงโค้งเบน
   เข้าหาแสงจึงดูเหมือนว่าดอกทานตะวันหันหน้ามองพระอาทิตย์อยู่ตลอดเวลา

   ซึ งต่างจากแบบ ( Negative Phototropism ) [17]  ซึ งเป นการเคลื อนไหวหา

   แสง เช่น หญ้าแพรก (ข้อสังเกต) ดอกทานตะวันที มีอายุน้อยจะหันหน้าหาดวง

        อาทิตย์จริงแต่ดอกทานตะวันที แก่แล้วหรืออายุมากแล้วจะไม่สนใจดวง
    อาทิตย์เลย ยิ งเป นดอกที เหี ยวแล้วจะไม่หันหน้าไปหาดวงอาทิตย์เลย นั นคือ

    วันสุดท้ายที มันจะยังมีแรงหันหน้าไปหาดวงอาทิตย์ได้ ก็จะเป นเวลาตอนเย็น

   กลางคืนทิ งช่วงไป 12 ชั วโมง หลังจากนั นรุ้งเช้าดอกทานตะวันก็จะไม่หันหน้า
    หาดวงอาทิตย์อีก ดอกทานตะวันที เหี ยวสวนใหญ่จะหันหน้าไปทาง( ทิศตะวัน

                 ตก ) [18]  นอกเสียจากลมจะพัดแรงทําให้หันไปทิศทางอื น
   3   4   5   6   7   8   9   10   11