Page 61 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 61
56
ตัวอย่ำงโครงกำร 7
แบบเสนอแผนงำน / โครงกำร / กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล...............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน /โครงการ/กิจกรรม การส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล…………………………..
ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล..........มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม การส่งเสริม
ป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปีงบประมาณ …………. โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จาก
กองทุนหลักประกัน สุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล........เป็นเงิน ........ บาท โดยมีรายละเอียด แผนงาน /โครงการ /
กิจกรรมดังนี้
ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน / โครงกำร / กิจกรรม(ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรและเหตุผล
ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและอันดับหนึ่งของประเทศไทย ทั้งในมิติของการ
เสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม คนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่ไม่น้อยกว่า 12 ล้านคน แต่มีผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษาอยู่
เพียง4 ล้านคน ซึ่งควบคุมความดันโลหิตได้อยู่ในเกณฑ์ได้เพียงร้อยละ 29.7 แสดงให้เห็นว่า มาตรการการดูแลรักษาความดัน
โลหิตในประชากรไทยที่ผ่านมา ยังไม่เพียงพอ ที่จะท าให้ความดันโลหิตในคนไทยลดลง และการเกิดโรคความดันโลหิตสูงลดลง
การวินิจฉัยโรค การรักษาก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร ดังนั้นการวัดความดันโลหิต ที่บ้าน (HBPM) หรือ การวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง
(SMBP) จึงเป็นสิ่งจ าเป็นในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ส าคัญ
ในปัจจุบันพบว่าอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่พบว่ามีอายุน้อยลง ซึ่งการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเด็กและวัยรุ่น มี
ความแตกต่างจากผู้ใหญ่ เพราะเด็กมีพัฒนาการ มีการ ปรับตัวตามวัย มีข้อจ ากัดในการดูแลตนเอง ฉีดอินซูลิน อาหาร กิจวัตร
ประจ าวัน จ าเป็นต้องตรวจติดตามระดับน้ าตาลในเลือดด้วยตนเอง (SMBG) ไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง ต่อวัน และปรับปริมาณ
อินซูลินให้เหมาะสม เพื่อให้ระดับน้ าตาลในเลือด และ HbA1c ได้ตามเป้าหมายที่ ก าหนด โดยไม่มีภาวะน้ าตาลต่ าในเลือด
หรือมีภาวะน้ าตาลต่ าในเลือดน้อยครั้งที่สุด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถสนับสนุนหรือด าเนินการได้ในชุมชน/ที่บ้าน
ทั้งในระยะก่อนป่วย (กลุ่มประชากรปกติและกลุ่มที่มีความเสี่ยง) และระยะป่วย (กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) เพื่อ
ลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรค และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน และส่งเสริมคุณภาพชีวิต
ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ควรมีการด าเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ เช่น การคัดกรองและประเมิน ท าให้สามารถ
พบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยงตั้งแต่ยังไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิต
ที่ไม่เหมาะสม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรค
ออกไปได้ถึงร้อยละ 50 จึง เป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคที่ดีที่สุด รวมถึงการดูแลกลุ่มเสี่ยงตั้งแต่ยังไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้รับการดูแล
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดปัจจัยเสี่ยง
3. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เกิดความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดปัจจัยเสี่ยง
4. เพื่อควบคุมความดันโลหิตในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
5. เพื่อคัดกรอง วินิจฉัย และติดตามความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง
6. เพื่อปรับเปลี่ยนการใช้ยา และติดตามผลของการใช้ยาและปรับพฤติกรรม
7. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานอายุน้อยสามารถควบคุมระดับน้ าตาลได้อย่างเหมาะสม
8. เพื่อติดตาม กระตุ้น แนะน าผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ให้กินยาครบถ้วนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563