Page 63 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 63

58


                                    ร่วมโครงการลดเค็มครึ่งหนึ่ง ก่อนเริ่มโครงการให้วัดความดันโลหิตตามวิธีการมาตรฐานด้วย
                                    เครื่องวัดที่มีมาตรฐาน
                                2.2 รพ.สต./หน่วยบริการ นัดผู้ป่วยเป็นกลุ่มๆละ 5-20 คน ไปพบกันที่ศาลาประชาคมของหมู่บ้าน/

                                    ต าบล หรือห้องประชุมของ อปท.หรือที่ รพ.สต.เพื่อให้ความรู้แบบเข้มข้นเพื่อลดการบริโภค
                                    โซเดียม เป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint slide presentation ของคณะ
                                    แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
                                    - โซเดียมและความเค็มคืออะไร และส่งผลต่อร่างกายอย่างไร
                                    - คนไทยได้รับโซเดียมจากทางใดได้บ้างและมากน้อยเพียงใด
                                    - อาหารประเภทใดที่ควรและไม่ควรบริโภค
                                    - วิธีสังเกตปริมาณโซเดียมในอาหาร และการปฏิบัติตัวเพื่อลดการบริโภคโซเดียม
                                    หลังจากอบรมเสร็จสิ้นจะมีการเปิดโอกาสให้ซักถาม และมีการประเมินถึงความรู้ที่อบรม
                                    ไปโดยการพูดคุยถึงอาหารที่ผู้ป่วยรับประทานจริงในชีวิตประจ าวัน ว่ามีปริมาณโซเดียม

                                    มากน้อยเพียงใด จากนั้นจึงให้ค าแนะน าในการลดบริโภคโซเดียม เป็นข้อ ๆ ดังนี้
                                    - ควรสังเกตฉลากโภชนาการอาหารก่อนบริโภค
                                    - ลดการใช้เครื่องปรุงรส ให้ชิมก่อนปรุง ใช้เครื่องปรุงรส อื่น ๆ ได้แก่ พืชสมุนไพร (ขิง ข่า
                                      ตะไคร้) แทน
                                    - ลดการบริโภคอาหารแปรรูป อาหารกึ่งส าเร็จรูปและขนมขบเคี้ยว อาหารที่มีน้ าเป็น
                                      ส่วนประกอบ เช่น น้ าแกง ควรบริโภคส่วนที่เป็นน้ าแต่น้อย

                                2.3  รพ.สต./หน่วยบริการให้ความรู้แบบเข้มข้นเพื่อลดการบริโภคโซเดียมในครั้งแรก และนัดมาตรวจ
                                    ทุก 2 สัปดาห์โดยท าการประเมินและแนะน าการบริโภคในทุก ๆ ครั้งที่มารับการตรวจ เป็นเวลา
                                    ทั้งสิ้น 6 สัปดาห์ รวมมาตรวจและแนะน าทั้งหมด 4 ครั้ง
                                    2.4 รพ.สต./หน่วยบริการวัดความดันโลหิตเมื่อสิ้นสุดโครงการ
                            กิจกรรมที่ 3 การวัดความดันโลหิตตัวเองที่บ้าน
                                3.1 รพ.สต./หน่วยบริการ ขอสนับสนุน อปท. ในการจัดหาเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ เพื่อ
                                    สนับสนุนการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านของผู้ป่วยความดันโลหิตที่มีความจ าเป็น
                                    ตามล าดับก่อนหลัง
                                3.2 รพ.สต./หน่วยบริการ แนะน าและสอนให้ผู้ป่วยวัดความดันโลหิตที่บ้าน 5 ขั้นตอน: คุยความรู้ ท า

                                    ให้ดู ดูให้ท า ท าเองได้ ไม่ต้องดู และอยู่ยั่งยืน
                                3.3 ผู้ป่วยบันทึกค่าความดันโลหิตที่วัดในช่วงเช้าและก่อนนอนทุกวันเป็นเวลา 4-7 วัน/เดือน เป็น
                                    ระยะเวลา ....เดือน และน ามาปรึกษา รพ.สต เพื่อปรึกษาหรือส่งต่อพบแพทย์ หรือส่งผ่าน
                                    ช่องทางอื่นแล้วแต่กรณี
                                3.4 แพทย์ตรวจสอบค่าความดันโลหิต ซักถามประวัติ วินิจฉัยหาสาเหตุ และให้การรักษา เพื่อควบคุม
                                    ความดันโลหิตหรือหยุดยาแล้วแต่กรณี

                            กิจกรรมที่ 4  การตรวจติดตามระดับน้ าตาลในเลือดด้วยตนเองในผู้ป่วยเบาหวานอายุน้อย
                                4.1 หน่วยบริการ ขอสนับสนุน อปท. ในการจัดหาเครื่องและแผ่นตรวจเลือด เพื่อสนับสนุนแก่เด็กและ
                                    วัยรุ่นที่เป็นเบาหวานในการตรวจระดับน้ าตาลด้วยตนเอง
                                4.2 หน่วยบริการ สอนพ่อแม่/ผู้ปกครองในการใช้แผ่นตรวจเลือดและเครื่องตรวจวัดน้ าตาล และการ
                                    ปรับการฉีดอินซูลิน





                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68