Page 20 - แบบสรุปรายงานประจำปี 2562
P. 20
16
สาเหตุของการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนก าหนดที่แท้จริงนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าเกิดจาก
หลาย สาเหตุ (Multifactorial) ปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อยคือ ประวัติการคลอดก่อนก าหนด โดยพบโอกาสเป็นซ้ า
ร้อยละ 17-37 หรือโอกาสเกิดการคลอดก่อนก าหนดเป็น 2.5 เท่า โอกาสเกิดเพิ่มขึ้นตามจ านวนครั้งที่มีการ
คลอดก่อนก าหนด ซึ่งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนก าหนด เป็นปัญหาที่ส าคัญของประเทศและหน่วยบริการ
จังหวัดสุโขทัย ซึ่งจากการเก็บข้อมูลรายงานเฉพาะกิจปี 2562 พบว่า
ที่มา : รายงานเฉพาะกิจหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดก่อนก าหนดจังหวัดสุโขทัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – สิงหาคม 2562
และทารกที่คลอดจากมารดาที่มีภาวะเจ็บครรภ์ก่อนก าหนดจะพบภาวะทุพพลภาพที่พบบ่อยในทารก
หลังคลอด ได้แก่ กลุ่มอาการหายใจล าบาก (Respiratory distress syndrome) ภาวะเลือดออกใน
โพรงสมอง(intraventricular hemor- rhage) โรคปอดเรื้อรัง (pulmonary dysplasia) และภาวะล าไส้
เน่า(Necrotizing entrocolitis) นอกจากนี้ยังอาจท าให้เกิดภาวะทุพพลภาพในระยะยาว เช่น สมองพิการ
(Cereพบอุบัติการณ์การเสียชีวิตและการป่วยสูง จากข้อมูลส านักส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่
ทารกแรกเกิดน้ าหนักน้อยกว่า 2500 กรัมในปี 2556-2558 พบร้อยละ 8.6, 8.4 และ 8.6 ตามล าดับ
ทารกเกิด Birth asphyxia และอัตราทารกเสียชีวิต 0.30, อัตราทารกที่ต้องได้รับการรักษาใน NICU 1.4
อีกทั้งภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลทารกค่อนข้างสูง
ที่มาและความส าคัญของปัญหา
• อัตราการคลอดก่อนก าหนด ปี 2562
• เด็กที่คลอดก่อนก าหนด มีน้ าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
• ไม่มียา Progesterone ป้องกันภาวะคลอดก่อนก าหนดในหน่วยบริการ
• ไม่มีแนวทางที่ชัดเจนในการป้องกันภาวะคลอดก่อนก่อนก าหนดและการบริหารยา Progesterone
• แพทย์ระดับรพช. ไม่มั่นใจในการรักษาภาวะคลอดก่อนก าหนด
แบบสรุปรายงานประจ าปี 2562 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิต และยาเสพติด