Page 25 - แบบสรุปรายงานประจำปี 2562
P. 25

21





                              การแก้ไข  จากปัญหาดังกล่าว ทางส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย โดยกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ



                    ได้น าเข้าวาระการประชุม MCH  Board  ระดับจังหวัด ได้มีการให้พื้นที่ เร่งค้นหาหญิงหลังคลอดและเยี่ยม



                    บ้าน เน้นให้ความรู้เรื่องโภชนาการในทารกแรกเกิด การกินนมแม่อย่างเดียวใน 6เดือนแรก ส่งเสริมการบีบ



                    เก็บน้ านมให้ทารก กรณีท างานในจังหวัด  แต่ก็ยังพบว่ามารดาหลังคลอดส่วนใหญ่ลางานได้เพียง 1 เดือน


                    ต้องกลับไปท างานต่างจังหวัดจึงไม่สามารถให้นมลูกได้จนครบ 6 เดือน และจัดอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร



                    ในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมาให้ส าเร็จ  ด้วยการอบรมพร้อมฝ กปฏิบัติการนวดกระตุ้นน้ านมจ านวน



                    60 คน



                    4.การวิเคราะห์ปัจจัยส าคัญที่ท าให้การด าเนินงานส าเร็จ



                              จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2562  พบปัจจัยที่ท าให้การด าเนินงานประสบผลส าเร็จดังนี้


                              1.มีการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเข้าใจการด าเนินงานตามมาตรฐานอนามัยแม่และ



                    เด็ก และการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง



                              2.มีการควบคุมก ากับติดตามผลการด าเนินงานอนามัยแม่และเด็กบน HDC และรายงานอนามัยแม่และ



                    เด็กรายไตรมาส



                              3.การประเมิน นิเทศ ควบคุม ก ากับมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ให้ถูกต้องและเป็นไปตาม


                    มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก



                              4.การขับเคลื่อนนโยบายการป้องกันการคลอดก่อนก าหนด โดยมีการวิเคราะห์สาเหตุ และด าเนินการ



                    แก้ไขและป้องกัน โดยมีการคัดกรองความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์, มีการฝ กวัดความยาวปากมดลูก, และการใช้



                    ยาป้องกันการคลอดก่อนก าหนดตามแนวทางป้องกันการคลอดก่อนก าหนดจังหวัดอุตรดิตถ์ และจากการเก็บ



                    ข้อมูลการคลอดก่อนก าหนด พบว่า อัตราการคลอดก่อนก าหนด ลดลงจากปีที่ผ่านมา


                    5. ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงพัฒนาเชิงนโยบาย กฎ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติ




                    *  หน้ารายงานควรมีเพิ่มเติมให้ครอบคลุมตัวชี้วัด  เช่น




                              1.จ านวนการคลอดและวิธีการคลอด




                              2.สถานการณ์การคลอด Pretrem




                              3.ภาวะการเกิด Birth Asphyxia  ในห้องคลอด




                    *  การใช้ข้อมูล HDCที่น ามาประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์งานให้ได้คุณภาพนั้น  หากกรณีมีการ



                    เปลี่ยนแปลงวิธีการ ค าจ ากัดความจึงเป็นจุดที่มีผลต่อผู้ปฏิบัติงาน  ควรแจ้ง และเปลี่ยนแปลงให้น้อยที่สุดใน



                    ระหว่างปี   เพื่อความเชื่อถือของข้อมูลตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ




                    *  ตัวชี้วัดที่ขอเพิ่มเติมในการตรวจราชการ อาจท าให้ได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน เนื่องจากรายงานปกติใช้ในHDC




                    * ตัวชี้วัดการได้รับไอโอดีนเสริมของหญิงตั้งครรภ์ ควรนับผลงานครอบคลุมของสถานบริการเพียงแห่งเดียว



                    เช่นเดียวกับการฝากครรภ์ ไม่ควรเป็นกลุ่มเป้าหมาย ทุกหน่วยบริการที่ไปฝากครรภ์ เพราะเป็นการซ้ าซ้อนใน



                    การจ่ายยา เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการจ่ายยามากขึ้น  และตัวชี้วัดการกินมแม่อย่างเดียวถึง 6 เดือน ก็ควร



                    นับที่สถานบริการแห่งเดียวเช่นกัน













                                                                                                แบบสรุปรายงานประจ าปี  2562 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิต และยาเสพติด
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30