Page 29 - แบบสรุปรายงานประจำปี 2562
P. 29

25



                        1. สถานการณ์



                                  2.1ด้านพัฒนาการเด็กปฐมวัย



                                  ข้อมูลสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดสุโขทัย ตังแต่ปี 2560-2562 พบว่า ผลการ



                        ด าเนินงานการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย(อายุ 9 เดือน, 18 เดือน, 30 เดือน และ 42 เดือน)ด้วย



                        เครื่องมือ DSPM  (Developmental  Surveillance  and  Promotion  Manual)  ในภาพรวมจังหวัดมี


                        ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น และผ่านเกณฑ์  จากปี 2560-2561 ความครอบคลุมร้อยละ 89.62  และ 94.79



                        ในปี 2562   เป้าหมายเด็ก 0-5 ปี  มีจ านวน 15175 คน  ได้รับการคัดกรองจ านวน  14424 คน  คิดเป็น



                        ร้อยละ  95.05   ในด้านคุณภาพในการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยก าหนดให้ตรวจคัดกรองแล้วต้องพบ



                        สงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20  ถือว่าบุคลากรมีศักยภาพและผ่านเกณฑ์คุณภาพ  ในการคัดกรองด้วย



                        เครื่องมือ DSPM ซึ่งเจ้าหน้าที่ของจังหวัดสุโขทัยสามารถคัดกรองพัฒนาการเด็กกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์


                        มาตลอด คือ ปี 2560 - 2561 พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 20.65 และ 23.99 และในปี 2562 คัดกรองแล้วพบ



                        เด็กสงสัยล่าช้า จ านวน 3,916 คน คิดเป็นร้อยละ 27.15  ส าหรับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าสามารถ



                        ติดตามกระตุ้นได้เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน คือ ปี 2560-2561  สามารถติดตามเด็กที่พบคัดกรองพัฒนาการแล้ว



                        พบว่าสงสัยล่าช้าได้ร้อยละ 77.95  และ 90.49 ในปี  2562 คัดกรองแล้วพบสงสัยล่าช้าจ านวน  3,916



                        คน สามารถติดตามได้  จ านวน  3,647 คน คิดเป็นร้อยละ  93.13  ซึ่งผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 90 ส่วน


                        ผลงานคัดกรองพัฒนาการเด็กที่มีพัฒนาสงสัยล่าช้าแล้วพบว่าล่าช้าในปี 2562 นั้น  มีจ านวน 127 คน



                        และ เข้าระบบการกระตุ้นด้วยเครื่องมือ  TEDA4I จ านวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 57.48  ซึ่งผลงานยังไม่



                        ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด คือ ร้อยละ 60 แต่มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น จากปี 2561 จ านวน  127 คน กระตุ้น 63 คน



                        คิดเป็นร้อยละ 49.61







                                  2.2ด้านโภชนาการเด็กปฐมวัย



                                  ส าหรับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0 - 5 ปี ของจังหวัดสุโขทัย จากผลงานการชั่งน้ าหนักและวัดส่วนสูง



                        ในไตรมาสที่ 3 (เมษายน-มิถุนายน) มีดังนี้ ผลงานสูงดีสมส่วนของปี 2559 - 2561 พบเด็ก 0-5 ปี สูงดี



                        สมส่วนคิดเป็นร้อยละ 47.7 , 47.8 , 46.2 ตามล าดับ และปี 2562 มีผลงานเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน



                        เพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ร้อยละ 54) คิดเป็นร้อยละ 57.34 ส่วนผลงานเฝ้าระวังภาวะเตี้ยของเด็ก


                        0-5 ปี เกณฑ์ตัวขี้วัดก าหนดให้ไม่เกินร้อยละ 10 จังหวัดสุโขทัยมีผลงาน ปี 2559 - 2561 คิดเป็นร้อยละ



                        10.22, 9.53, 10.19 ตามล าดับ ซึ่งปี 2562 มีผลงานเด็กเตี้ยร้อยละ 13.12 มีแนวโน้มสูงขึ้นและ



                        ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ผลงานการเฝ้าระวังภาวะอ้วนของเด็ก 0-5 ปี เกณฑ์ตัวชี้วัดก าหนดไว้ไม่เกินร้อยละ



                        10 จังหวัดสุโขทัยมีผลงาน ปี 2559 – 2561 ร้อยละ 4.55 , 4.61 , 4.76 ตามล าดับ ซึ่งภาวะอ้วนของเด็ก



                        0-5 ปี ในปี 2562 มีผลงาน 12.84 ซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดและมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี 2563


                        ต้องวางแผนแก้ไขต่อไป ผลงานการเฝ้าระวังภาวะผอมของเด็ก 0-5 ปี เกณฑ์ตัวชี้วัดก าหนดไว้ไม่เกินร้อย



                        ละ 10 จังหวัดสุโขทัยมีผลงาน ปี 2559 – 2561 ร้อยละ 7.80 , 7.07 , 7.03 และปี 2562 มีผลงาน



                        จ านวน 29,479 คน มีภาวะผอมจ านวน 2,154 คน คิดเป็นร้อยละ 7.31 ซึ่งผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด



















                                                                                                แบบสรุปรายงานประจ าปี  2562 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิต และยาเสพติด
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34