Page 31 - แบบสรุปรายงานประจำปี 2562
P. 31
27
4.การวิเคราะห์ปัจจัยส าคัญที่ท าให้การด าเนินงานส าเร็จ
จากข้อมูลงานเด็กปฐมวัย ปี 2562 พบปัจจัยที่ท าให้การด าเนินงานประสบผลส าเร็จดังนี้
1.มีการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเข้าใจการด าเนินงานตามมาตรฐานงานเด็กปฐมวัย และ
การบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง
2.มีการควบคุมก ากับติดตามผลการด าเนินงานอนามัยแม่และเด็กบน HDC เป็นรายเดือนและรายไตรมาส
3.การประเมิน นิเทศ ควบคุม ก ากับมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ให้ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐาน
งานอนามัยแม่และเด็ก
การขับเคลื่อนงานพัฒนาการเด็ก มีการบริหารจัดการและขับเคลื่อนภายใต้การด าเนินงานของ
คณะกรรมการอนุกรรมการพัฒนาการเด็กปฐมวัยจังหวัด, CPM ระดับจังหวัด, คณะกรรมการ 6 โปรแกรม
คุณค่าสร้างเด็กไทยคุณภาพ ของจังหวัดสุโขทัย 261/2561 เน้น นโยบาย ความส าคัญและแนวทางการ
ด าเนินงานขับเคลื่อน 6 โปรแกรมฯ กับงานมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก การจัดตั้งส านักงานประสานข้อมูล
การท างานพวงบริการแม่และเด็ก ระดับจังหวัด (IPU Office) จังหวัดสุโขทัยที่ โรงพยาบาลสุโขทัย ชั้น 3
เพื่อใช้ในการบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการข้อมูล และงบประมาณของ พวงบริการ IPUs ทั้ง
9 อ าเภอ
5.ระบบบริการที่มีคุณภาพ
5.1ส่งการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายพัฒนาระบบบริการคัดกรองและส่งเสริมเด็กพัฒนาการ
สมวัย การติดตามเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าด้วย DSPM และการติดตามกระตุ้นเด็กพัฒนาการล่าช้าด้วย
TEDA4I ร่วมกับศูนย์สุขภาพจิตที่ 2 พิษณุโลก เป้าหมาย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล และ รพ.สต.ในพื้นที่
5.2 การประเมินคุณภาพบริการ ในโรงพยาบาล 9 แห่ง ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 6โปรแกรมคุณค่าสร้าง
เด็กไทยคุณภาพ และลงเยี่ยม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ 1 แห่ง ช่วงเดือนกุมภาพันธุ์ – เดือนมีนาคม
2562
5.3 ปี 2562 นี้ มีโรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลสุโขทัย รับการประเมินตามเกณฑ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพผสมผสาน 6 โปรแกรมคุณค่าสร้างเด็กไทยคุณภาพ และงาน พรบ.นมและ
อาหารส าหรับทารกฯ ไปด าเนินการเยี่ยมที่ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซีสุโขทัย ซึ่งเป็นการประเมินจากศูนย์วิชาการ
เขตสุขภาพที่ 2 พิษณุโลก และคณะกรรมการขับเคลื่อนงานแม่และเด็กของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อเดือน
พฤษภาคม 2562
5.4 การสนับสนุนสื่อ/เทคโนโลยี สนับสนุนสื่อ 9 ย่างเพื่อสร้างลูก ให้สถานบริการทุกแห่ง เพื่อการ
ประชาสัมพันธ์และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
6. ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงพัฒนาเชิงนโยบาย กฎ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติ
* หน้ารายงานควรมีเพิ่มเติมให้ครอบคลุมตัวชี้วัด คือ การได้รับบริการเจาะเลือดหาภาวะซีดในเด็ก
* การใช้ข้อมูล HDC ที่น ามาประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์งานให้ได้คุณภาพนั้น หากกรณีมีการ
เปลี่ยนแปลงวิธีการ ค าจ ากัดความจึงเป็นจุดที่มีผลต่อผู้ปฏิบัติงาน ควรแจ้ง และเปลี่ยนแปลงให้น้อยที่สุดใน
ระหว่างปี เพื่อความเชื่อถือของข้อมูลตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ
แบบสรุปรายงานประจ าปี 2562 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิต และยาเสพติด