Page 30 - แบบสรุปรายงานประจำปี 2562
P. 30

26






                   3. การวิเคราะห์ปัญหาและปัจจัยที่ท าให้การด าเนินงานประสบผลส าเร็จ (ข้อมูลงานเด็กระบบ HDC


                 ปี 2562)



                 ผลงานตามตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์



                          1. ปัญหาด้านปริมาณความครอบคลุมงานอนามัยเด็ก ที่ต่ ากว่าเกณฑ์



                          1.1 ปัญหาการบริการกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ผลงานในภาพรวมของจังหวัด



                 พบว่า  มีเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า จ านวน 127 คน ได้รับการกระตุ้น จ านวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 57.48


                 (เกณฑ์ร้อยละ 60) หากดูข้อมูลรายอ าเภอ พบว่า อ าเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์  คือ อ าเภอบ้านด่านลานหอย คีรีมาศ



                 ศรีส าโรง ศรีสัชนาลัย  สวรรคโลก และทุ่งเสลี่ยม  โดยได้รับการกระตุ้น ร้อยละ 28.5  33.3  41.6  55.0 34.7



                 และ 50.0 ตามล าดับ



                          สาเหตุเนื่องจาก  กลุ่มเป้าหมาย บางส่วนค้นพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าจาก รพ.สต.และส่งตัวมารับบริการ



                 ที่โรงพยาบาลแม่ข่ายในอ าเภอแล้ว  แต่ผู้ปกครองไม่พาไปรับบริการ  และบางส่วนเข้าระบบกระตุ้นของศูนย์


                 การศึกษาพิเศษ  ที่มีเครือข่ายทุกอ าเภอ  ท าให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการกระตุ้นแต่ไม่ได้การบันทึก  เนื่องจาก



                 เปลี่ยนที่กระตุ้น  รวมทั้ง  ไปรับการกระตุ้นที่โรงพยาบาลต่างอ าเภอ (อ าเภอที่เป็นที่ตั้งของ รพท.) ท าให้ข้อมูล



                 การติดตามกระตุ้นขาดไปเป็นติดตามไม่ได้



                          การแก้ไข  ด าเนินการพัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูลให้ดีขึ้น  โดยก าหนดให้ รพ.สต. ที่คัดกรองเด็กแล้วพบ



                 พัฒนาการล่าช้า  ส่งบันทึกข้อความให้โรงพยาบาลแม่ข่ายในอ าเภอทราบทันที   และผู้รับผิดชอบงาน


                 พัฒนาการของ สสจ.ท าหนังสือแจ้งให้โรงพยาบาลแม่ข่ายทราบว่าในพื้นที่อ าเภอมีเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าจาก



                 รพ. สต.  ที่ต้องเข้ารับการกระตุ้นด้วย TEDA4I  จ านวนกี่ราย  และจาก รพ.สต.ไหนบ้าง  เพื่อให้ทันห้วงเวลา



                 การเริ่มเข้ากระตุ้นพัฒนาการ (ไม่เกิน 60 วัน) เป็นประจ าทุกเดือน








                          1.2 ปัญหาภาวะอ้วน  ภาวะผอม  ภาวะเตี้ย  ผลงานในภาพรวมของจังหวัด พบว่า ปี 2562 มีผลงาน


                 เด็กเตี้ยร้อยละ 13.12  มีแนวโน้มสูงขึ้นและไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ไม่เกินร้อยละ 10)  ผลงานการเฝ้าระวังภาวะ



                 อ้วน  ร้อยละ 12.84  ซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดและมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นจากทุกปีอย่างรวดเร็ว  และมีผลงานมีภาวะผอม



                 ร้อยละ 7.31 ซึ่งผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด



                          สาเหตุเนื่องจาก กิจกรรมทางกายเด็กปฐมวัยลดลง  เนื่องจากการปล่อยให้เด็กใช้สมาร์ทโฟน เพราะเพื่อน



                 เล่นในหมู่บ้านน้อย  และคิดว่าการให้เด็กใช้สมาร์ทโฟนจะช่วยป้องกันการเกิดอุบัติเหตุกับบุตรหลานได้ และ


                 อาหาร  ที่บริโภคเป็นอาหารประเภทแป้ง  และอาหารที่มีปริมาณน้ าตาลสูง  อีกทั้งเด็กส่วนใหญ่ชอบ



                 รับประทานอาหารปรุงสุกด้วยวิธีการทอดมากกว่าอย่างอื่น  ท าให้ภาวะโภชนาการเด็กมีแนวโน้มที่แย่ลง



                          การแก้ไข  กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ได้น ากระบวนการขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย



                 ของจังหวัดสุโขทัย  คือ  มีการนิเทศติดตามงานในหน่วยบริการทุกแห่งในพื้นที่ทั้ง 9                                                                               อ าเภอ  โดยมี



                 กระบวนการที่เน้นการเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ในด้านหลักการใช้เครื่องมือวัดส่วนสูงและเครื่องมือชั่งน้ าหนัก


                 และด้านการปรับเปลี่ยนเครื่องมือให้ได้มาตรฐานของส านักโภชนาการ  กรมอนามัย  และงานด้านโภชนาการ



                 และกิจกรรมทางกายส าหรับเด็กปฐมวัยจะด าเนินการในปี 2563 ต่อไป

















                   แบบสรุปรายงานประจ าปี  2562 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิต และยาเสพติด
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35