Page 41 - 2559
P. 41
3.1.3 การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมา กรมทางหลวงชนบทจัดท า
โครงการต่างๆ มากมาย ซึ่งในโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ได้ผู้มีความรู้
และความเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขา ทั้งด้านวิศวกรรม
สถาปัตยกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการศึกษาและ
พัฒนามาตรฐานให้เหมาะสมกับภารกิจและงานของกรมทางหลวง
ชนบท สร้างความเข้มแข็งในการจัดการความรู้ประกอบด้วยการ
ส่งเสริม และพัฒนาความรู้ ความสามารถให้ข้าราชการเป็นผู้มี
ความรู้ความเชี่ยวชาญในวิชาการสมัยใหม่ ให้สอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องการ
สร้างระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
ภาพที่ 3-14 แสดงระบบจัดการความรู้
ขององค์กรให้เป็นรูปธรรมและสามารถน าไปสนับสนุนการด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องรวมทั้งเป็นการ
ยกระดับการจัดการความรู้ไปสู่การจัดการในเชิงยุทธศาสตร์ การใช้ประโยชน์จากการจัดการความรู้ในการพัฒนาคุณภาพ
การให้บริการ ประสิทธิภาพการด าเนินงาน การปรับปรุงกระบวนการท างานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น รวมถึงรักษาองค์
ความรู้ต่าง ๆ เหล่านี้ให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1) ถ่ายทอดความรู้ที่อยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge)
ให้เป็นความรู้ที่เป็นรูปธรรม (Explicit Knowledge)
ซึ่งจะเป็นความรู้ขององค์กรในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น
เอกสาร วีดิทัศน์ Soft file ที่จัดเก็บในระบบ
สารสนเทศ
2) การสร้างศูนย์กลางความรู้ (Knowledge Center)
เพื่อสร้างองค์ความรู้ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะของบุคลากรภายในกรมทางหลวงชนบท ภาพที่ 3-15 แสดงระบบจัดการความรู้
รวมทั้งผู้ที่สนใจ ที่มีความรู้ในด้านต่าง ๆ
ดังนั้น ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้ท าการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ (KM) ขึ้น เพื่อแก้ไข
ปัญหาที่ผ่านมา และเป็นการจัดเก็บ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์กับบุคลากรภายในกรมฯ รวมทั้งผู้
ที่สนใจ ซึ่งสามารถรองรับการใช้งานผ่านอุปกรณ์มือถือได้อีกด้วย โดยผู้ที่สนใจสามารถเข้าใช้งานได้ผ่านทาง URL:
http://eoffice.drr.go.th/km/ หรือ สามารถสแกน QR Code ได้ที่
ภาพที่ 3-16 แสดงระบบจัดการความรู้ ภาพที่ 3-17 แสดง QR Code ระบบจัดการความรู้
33