Page 23 - รายงานประจำปี กรมทางหลวง.indd
P. 23
ผลงานด้านการบริหารและพัฒนาระบบ
โครงการจัดท าสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)
ผลงานด้านการบริหารและพัฒนาระบบ
โครงการจัดท าสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้จัดท าสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture) เพื่อ
เป็นกรอบแนวทางในการแสดงกระบวนการท างาน (Business Architecture) ระบบสารสนเทศ (Application
Architecture) และข้อมูล (Data Architecture) ที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานขององค์กร เพื่อให้สามารถด าเนินการ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้จัดท าสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture) เพื่อ
ตามนโยบายรัฐบาลในการน าเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย และหลากหลายมาปรับเปลี่ยนวิธีการด าเนินงานภายใน
เป็นกรอบแนวทางในการแสดงกระบวนการท างาน (Business Architecture) ระบบสารสนเทศ (Application
องค์กร โดยจัดท ากรอบแนวทางดังกล่าวทั้งในปัจจุบัน (As-is) และอนาคต (To-be) เพื่อชี้ให้เห็นปัญหาในปัจจุบัน
Architecture) และข้อมูล (Data Architecture) ที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานขององค์กร เพื่อให้สามารถด าเนินการ
และแนวทางการแก้ไขปัญหาในอนาคต ซึ่งปัญหาหนึ่งที่เป็นผลจากการจัดท าสถาปัตยกรรมองค์กรชี้ให้เห็นคือ
ตามนโยบายรัฐบาลในการน าเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย และหลากหลายมาปรับเปลี่ยนวิธีการด าเนินงานภายใน
ความซ้ าซ้อนของข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ของกรมทางหลวงชนบททั้งในส่วนกลางและส่วน
องค์กร โดยจัดท ากรอบแนวทางดังกล่าวทั้งในปัจจุบัน (As-is) และอนาคต (To-be) เพื่อชี้ให้เห็นปัญหาในปัจจุบัน
ภูมิภาค ซึ่งอยู่ในรูปแบบของฐานข้อมูล และรูปแบบของกระดาษ ส่งผลให้เกิดการท างานซ้ าซ้อน ขาดการเชื่อมโยง
และแนวทางการแก้ไขปัญหาในอนาคต ซึ่งปัญหาหนึ่งที่เป็นผลจากการจัดท าสถาปัตยกรรมองค์กรชี้ให้เห็นคือ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน จากปัญหาดังกล่าวกรมทางหลวงชนบท โดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
ความซ้ าซ้อนของข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ของกรมทางหลวงชนบททั้งในส่วนกลางและส่วน
การสื่อสาร จึงได้พัฒนาระบบบูรณาการข้อมูลตามสถาปัตยกรรมองค์กร เพื่อช่วยลดภาระในการท างานของ
ภูมิภาค ซึ่งอยู่ในรูปแบบของฐานข้อมูล และรูปแบบของกระดาษ ส่งผลให้เกิดการท างานซ้ าซ้อน ขาดการเชื่อมโยง
บุคลากร และเชื่อมโยงข้อมูลทั้ง 4 ภารกิจหลักคือ ด้านแผนงาน ด้านส ารวจและออกแบบ ด้านก่อสร้างทาง และ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน จากปัญหาดังกล่าวกรมทางหลวงชนบท โดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
ด้านก่อสร้างสะพาน โดยระบบแบ่งเป็น 2 ส่วน
การสื่อสาร จึงได้พัฒนาระบบบูรณาการข้อมูลตามสถาปัตยกรรมองค์กร เพื่อช่วยลดภาระในการท างานของ
บุคลากร และเชื่อมโยงข้อมูลทั้ง 4 ภารกิจหลักคือ ด้านแผนงาน ด้านส ารวจและออกแบบ ด้านก่อสร้างทาง และ
1. การพัฒนาแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Form) ตามแนวทางการบูรณาการแบบฟอร์ม ที่เกี่ยวข้องกับ
ด้านก่อสร้างสะพาน โดยระบบแบ่งเป็น 2 ส่วน
กระบวนการวางแผน ส ารวจออกแบบ ก่อสร้างทาง และก่อสร้างสะพาน ของกรมทางหลวงชนบท เพื่อให้
หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการส ารวจข้อมูลแบบฟอร์มที่
1. การพัฒนาแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Form) ตามแนวทางการบูรณาการแบบฟอร์ม ที่เกี่ยวข้องกับ
เกี่ยวข้องทั้งหมด 71 แบบฟอร์ม สามารถปรับลดแบบฟอร์มเหลือ 23 แบบฟอร์ม คิดเป็นจ านวน
กระบวนการวางแผน ส ารวจออกแบบ ก่อสร้างทาง และก่อสร้างสะพาน ของกรมทางหลวงชนบท เพื่อให้
แบบฟอร์มที่ลดได้เท่ากับ 48 แบบฟอร์ม เท่ากับลดลงร้อยละ 67.60 ดังตาราง
หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการส ารวจข้อมูลแบบฟอร์มที่
เกี่ยวข้องทั้งหมด 71 แบบฟอร์ม สามารถปรับลดแบบฟอร์มเหลือ 23 แบบฟอร์ม คิดเป็นจ านวน
จ านวนแบบฟอร์มที่ลดเหลือ
จ านวนแบบฟอร์มทั้งหมด
รายการแบบฟอร์ม
แบบฟอร์มที่ลดได้เท่ากับ 48 แบบฟอร์ม เท่ากับลดลงร้อยละ 67.60 ดังตาราง
แบบฟอร์มด้านแผนงาน 10 8
แบบฟอร์มด้านส ารวจและออกแบบ จ านวนแบบฟอร์มทั้งหมด จ านวนแบบฟอร์มที่ลดเหลือ
4
16
รายการแบบฟอร์ม
แบบฟอร์มด้านก่อสร้างทางและสะพาน 45 11
แบบฟอร์มด้านแผนงาน 10 23
8
71
รวม
แบบฟอร์มด้านส ารวจและออกแบบ 16 4
แบบฟอร์มด้านก่อสร้างทางและสะพาน 45 11
รวม 71 23
11
11