Page 85 - Report_Edit_v7
P. 85

รัฐบาลญี่ปุ่นมีการควบคุมการผลิตให้มีปริมาณน้อยลงเช่นกันท าให้ปริมาณงานที่จ้างในประเทศไทย

                       ลดลงไปด้วย


                              5.1.3.6 งานแอนิเมชันเพื่อการศึกษา (Animation for Education (e- Learning))
                              จากการส ารวจ พบว่า ในปี 2560 งานแอนิเมชันเพื่อการศึกษามีมูลค่าน้อยที่สุด โดยใน

                       ภาพรวมมีมูลค่า 7.8 ล้านบาท ทั้งนี้ มีเพียงผู้รับจ้างผลิตเพียงกลุ่มเดียวที่ได้รับรายได้จากการน าเสนอ

                       งานในรูปแบบดังกล่าว เมื่อพิจารณาอัตราการเติบโต พบว่า มีอัตราการเติบโตที่ลดลงถึงร้อยละ 54

                       โดยในปี 2559 มีมูลค่า 17.1 ล้านบาท ทั้งนี้ เกิดจากความต้องการด้านเนื้อหาการศึกษา และสื่อ

                       ดิจิทัลด้านการศึกษาที่เปลี่ยนจากการสร้างสื่อแอนิเมชัน เป็นการบันทึกภาพการสอนแทน เนื่องจากมี

                       ต้นทุนน้อยกว่า และสามารถขายได้มากกว่าสื่อการสอนลักษณะแอนิเมชัน ซึ่งมักจะอยู่ในรูปแบบ CD

                       หรือ DVD ที่ได้รับความนิยมน้อยลงอย่างต่อเนื่อง

                              5.1.3.7 มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นจากการน าเสนองานแอนิเมชัน (Value Added)

                              จากการส ารวจ พบว่า ในปี 2560 มูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการน าเสนองานแอนิเมชันเป็นมูลค่าที่

                       สูงที่สุด โดยในภาพรวมมีมูลค่า 1,355 ล้านบาท เมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตพบว่ามีอัตราการเติบโต

                       ลดลงถึงร้อยละ 16 ทั้งนี้ กลุ่มผู้จัดจ าหน่าย ผู้น าเข้า ผู้ดูแลลิขสิทธิ์ เป็นเพียงกลุ่มเดียวที่ได้รับรายได้

                       จากช่องทางดังกล่าว ทั้งนี้ การรับจ้างผลิตงานในลักษณะดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
                       เนื่องจากใช้เวลาในการด าเนินงานงานน้อยท าให้ผู้ประกอบการสามารถรับงานได้ในปริมาณที่มากขึ้น

                       และได้รับก าไรมากขึ้น ทั้งนี้อัตราการเติบโตที่ลดลงของช่องทางดังกล่าวสอดคล้องกับอัตราการเติบโต

                       ที่ลดลงของการน าเสนอสื่อแอนิเมชันผ่านช่องทางโทรทัศน์ และโรงภาพยนตร์ นอกจากนี้ ในปี 2560

                       ยังไม่มีการน าเสนอแอนิเมชันของไทย ส่งผลให้สัดส่วนมูลค่าเพิ่มจากค่าโฆษณาที่ได้รับจากการ

                       น าเสนอผ่านโทรทัศน์และโรงภาพยนตร์ลดลงตามไปด้วย

                       5.1.4 มูลค่าอุตสาหกรรมจ าแนกตามช่องทางการน าเสนอ

                       ในการส ารวจ คณะผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์มูลค่าอุตสาหกรรมจ าแนกตามช่องทางการน าเสนอ

               แอนิเมชันซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 8 ช่องทางดังตาราง เพื่อให้สอดคล้องกับการด าเนินธุรกิจในอุตสาหกรรม

               แอนิเมชัน ทั้งนี้ การวิเคราะห์จ าแนกตามช่องทางการน าเสนองานแอนิเมชันจะใช้ส าหรับธุรกิจผู้ผลิตงาน

               แอนิเมชันที่มีลิขสิทธิ์เป็นของตนเองและธุรกิจผู้จัดจ าหน่าย ผู้น าเข้า และผู้ดูแลลิขสิทธิ์เท่านั้น เนื่องจากการ

               รับจ้างผลิตงานจะมีช่องทางในการน าเสนองานที่แตกต่างออกไป โดยเป็นการจ าแนกตามประเภทผู้ว่าจ้าง หาก

               พิจารณาช่องทางการน าเสนอในภาพรวม พบว่า ช่องทางการน าเสนอที่มีมูลค่ามากที่สุดคือช่องทาง Pay TV
               โดยมีมูลค่า 980.8 ล้านบาท รองลงมาคือช่องทาง Free Tv และ โรงภาพยนต์ โดยมีมูลค่า 485 และ 176.3

               ล้านบาท ตามล าดับ ทั้งนี้ รายละเอียดของการน าเสนองานแอนิเมชันแต่ละช่องทางมีดังต่อไปนี้



                                                            85
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90