Page 76 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 76
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
- ที่ตั้งแหล่งก่อมลพิษต่างๆ เช่น แหล่งทิ้งขยะ โรงงานอุตสาหกรรม คลังน้ ามัน นิคม
อุตสาหกรรม คลังสินค้าหรือโกดัง
- ที่ตั้งการบริการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาล สถานีอนามัย ทั้งภาครัฐและเอกชน
ตลอดจนการบริการสาธารณสุขและบริการสาธารณะอื่นๆ ที่เพียงพอและสะดวก
- ที่ตั้งสถานที่ส าคัญทางศาสนา เช่น วัด มัสยิด โบสถ์
- สังคมของชุมชนโดยรอบ
4) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่
- ที่ตั้งแหล่งก่อมลพิษต่างๆ เช่น แหล่งทิ้งขยะ โรงงานอุตสาหกรรม คลังน้ ามัน นิคม
อุตสาหกรรม คลังสินค้าหรือโกดัง
- สามารถควบคุมมลภาวะทางน้ า อากาศ ดิน กากของเสีย และมลภาวะทางเสียง กลิ่น
ฝุ่น ควัน เหตุเดือนร้อนร าคาญ
- การบริหารจัดการพลังงาน
5) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการพื้นที่
- การบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม
- การพึ่งพาเกื้อกูลซึ่งกันและกันของอุตสาหกรรม (Industrial Symbiosis)
- ความสามารถในการรองรับการประยุกต์ใช้นวัตกรรม/เครื่องมือการจัดการ/ระบบ
บริหารจัดการใหม่ๆ
ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจัยดังกล่าวเป็นทั้งปัจจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ในการวิเคราะห์จึงจะต้องจัดให้อยู่ใน
รูปแบบเชิงปริมาณเพื่อให้สามารถน าเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์ได้เช่นเดียวกัน โดยอาจมีการเพิ่ม-ลดปัจจัยตาม
ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญและตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากการประมวลผลสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ปัจจัย
ที่เหมาะสมที่สุดในการน ามาวิเคราะห์หาพื้นที่ที่มีศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ในอนาคต
โดยมีวิธีการด าเนินการ/กิจกรรม หลักๆ ดังนี้
1) การรวบรวมข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
2) การจัดหาชุดข้อมูลแผนที่ฐาน
3) การจัดท าเกณฑ์ ปัจจัยใช้ในการวิเคราะห์
4) การจัดท าแบบจ าลองการวิเคราะห์
5) การจัดหาและติดตั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
6) การจัดท าโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
7) การจัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องในเนื้อหาด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
8) จัดท าคู่มือการพัฒนาระบบและคู่มือการใช้งาน
9) จัดแถลงข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการและจัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ผลงานจากโครงการ
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 3 - 3