Page 75 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 75
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
แนวคิด กำยภำพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม บริหำร
แนวความคิดของทฤษฎีแหล่งศูนย์กลาง √ √ √ √
ทฤษฎีท าเลที่ตั้งอุตสาหกรรม √ √ √ √
แนวคิดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ √ √ √ √ √
แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย √ √ √ √ √
จากผลการศึกษาเบื้องต้นดังแสดงในตารางที่ 3.1-1 อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที่น่าจะมีผลต่อศักยภาพการ
แข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ จ านวน 5 กลุ่ม ได้แก่ ปัจจัยลักษณะทางกายภาพพื้นที่
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านการบริหารจัดการ มีรายละเอียด ดังนี้
1) ปัจจัยทางกายภาพพื้นที่ ได้แก่
- กฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องการใช้ที่ดิน เช่น พรบ. ผังเมือง เขตอุทยาน
แห่งชาติ เขตชุมชน
- ระยะห่างจากชุมชน
- ระยะห่างจากนิคมอุตสาหกรรม
- ระยะห่างจากท่าเรือขนส่งสินค้า
- ความสะดวกในการเข้าถึง เช่น โครงข่ายถนนที่มีข้อมูลความกว้างของถนน หรือ
จ านวนช่องทางถนน
- พื้นที่น้ าท่วมหรือที่ลุ่มน้ าขัง
- สาธารณูปโภค สาธารณูปการ เช่น พื้นที่การให้บริการไฟฟ้า น้ าประปา ฯลฯ
2) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ได้แก่
- ราคาที่ดิน
- ที่ตั้งทางธุรกิจ เช่น อาคารส านักงาน โรงแรม ศูนย์การค้า
- ระบบคมนาคมขนส่ง เช่น ต าแหน่งสถานีรถไฟ สถานีรถไฟฟ้า BTS/MRT สถานีขนส่ง
มวลชน สนามบิน
- ที่ตั้งที่พักอาศัย เช่น อพาร์ทเม้นท์ หอพัก คอนโดมิเนียม หมู่บ้านจัดสรร ชุมชน
- สถานที่ส าคัญที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจในพื้นที่ เช่น สถานที่ราชการ สถานที่ท่องเที่ยว
- โรงงานอุตสาหกรรม คลังน้ ามัน นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าหรือโกดังที่ตั้งอยู่ในพื้นที่
- จ านวนประชากรวัยท างานในพื้นที่
- ดัชนีอุตสาหกรรม
3) ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่
- ที่ตั้งสถานศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐ และเอกชน
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 3 - 2