Page 91 - water pocket book_Neat
P. 91

ปัญหำกำรขำดแคลนน�้ำ
                                                         ั
                           ี
                   ในรอบ ๔๐ ปีท่ผ่ำนมำ ประเทศไทยประสบปัญหำภัยแล้งหลำยคร้ง คือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๐, ๒๕๑๑,
         ๒๕๑๕, ๒๕๒๐, ๒๕๒๒, ๒๕๒๙, ๒๕๓๐, ๒๕๓๓, ๒๕๓๗, ๒๕๔๒, ๒๕๔๕ แ ละ พ.ศ. ๒๕๔๘ ก่อให้เกิดผล
                                                               ั
         กระทบต่อรำยได้ของเกษตรกรและควำมเสียหำยทำงเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่ำงมำกท้งด้ำนเกษตรกรรม
         และอุตสำหกรรม ที่ต้องอำศัยผลผลิตทำงกำรเกษตรเป็นวัตถุดิบ ภัยแล้งครั้งรุนแรงที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๒๒,
                                                            ี
         ๒๕๓๗ และ พ.ศ. ๒๕๔๒ เกิดเป็นบริเวณกว้ำงในเกือบทุกภำคของประเทศ ช่วง ๑๐ ปีท่ผ่ำนมำ (ปี พ.ศ. ๒๕๔๘-
                                  ื
                               ึ
                          ิ
                                                                        ื
         ๒๕๕๗) มีพ้นท่แล้งซ้ำซำกเพ่มมำกข้น เน่องจำกฝนตกน้อยกว่ำปกติหรือฝนตกไม่เป็นไปตำมฤดูกำล ซ่งพ้นท ่ ี
                      �
                  ี
                                                                      ึ
                ื
         เสี่ยงภัยแล้งในระดับต่ำงๆ ขึ้นอยู่กับสภำพภูมิประเทศ สภำพดิน ปริมำณฝน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยในระดับรุนแรง
         (เกิดมำกกว่ำ๖ ครั้ง/๑๐ ปี) และระดับปำนกลำง (เกิด ๔-๕ ครั้ง/๑๐ปี) มีพื้นที่รวมประมำณ ๒๖.๘ ล้ำนไร่
                   ส�ำหรับปัญหำกำรขำดแคลนน�้ำเพื่อกำรอุปโภคบริโภค พบว่ำหมู่บ้ำนทั้งประเทศไทย (ปี พ.ศ.
         ๒๕๖๐) จ�ำนวน ๗๕,๐๓๒ หมู่บ้ำน มีปัญหำหมู่บ้ำนที่ไม่มีระบบประปำ ๒๕๖ หมู่บ้ำน ระบบประปำช�ำรุดและ
         ขำดประสิทธิภำพ ๒๐,๐๓๔ หมู่บ้ำน
                   ปัญหำน�้ำท่วม
                            ี
                                                              ั
                                                    �
                   ในรอบ ๓๐ ปีท่ผ่ำนมำ ประเทศไทยได้ประสบปัญหำนำท่วมเกือบทุกจงหวดของประเทศถึง
                                                                ั
                                                    ้
         ๑๓ ครั้ง ในปีต่ำงๆ ดังนี้ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕, ๒๕๑๘, ๒๕๒๑, ๒๕๒๓, ๒๕๒๖, ๒๕๓๒, ๒๕๓๘, ๒๕๔๔, ๒๕๔๕,
         ๒๕๔๘, ๒๕๔๙, ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้ำพระยำท่มีควำมรนแรงถึง ๘ ครง คือ
                                                         ี
                                                 �
                                        ี
                                                                       ้
                                                                       ั
                                                              ุ
         ปี พ.ศ.๒๕๑๘, ๒๕๒๖, ๒๕๓๘, ๒๕๔๕, ๒๕๔๘, ๒๕๔๙, ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ ตำมล�ำดับ ก่อให้เกิด
         ควำมเสียหำยต่อชีวิต ทรัพย์สิน และเศรษฐกิจของประเทศอย่ำงมำก เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีควำมเสียหำย
         ทำงเศรษฐกิจคิดเป็นมูลค่ำถึง ๑.๔๔ ล้ำนล้ำนบำท
                                                          ั
                      ี
                    ื
                   พ้นท่น้ำท่วมขัง ซ้ำซำก ของท้งประเทศ ระดับปำนกลำง คือ ๔-๕ คร้งในรอบ ๙ ปี และระดับสูง
                                    ั
                             �
                       �
         คือ มำกกว่ำ ๕ ครั้งในรอบ ๙ ปี รวมทั้งสิ้น ๑๐ ล้ำนไร่
                   พื้นที่เสี่ยงต่อดินโคลนถล่ม รวมทั้งสิ้นกว่ำ ๖,๐๔๒ หมู่บ้ำน มีสำเหตุจำกฝนที่ตกหนักในพื้นที่
         ลุ่มน�้ำ และจำกสภำพทำงกำยภำพของลุ่มน�้ำที่เป็นภูเขำสูงชันและพื้นที่ป่ำต้นน�้ำตอนบนถูกท�ำลำย
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96