Page 86 - water pocket book_Neat
P. 86

๑.๒ วัตถุประสงค์
                       ื
                                                                �
                                                                          ี
                   ๑) เพ่อเป็นกรอบและแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำและพัฒนำทรัพยำกรน้ำของประเทศ ท่ม  ี
          ผลกระทบรุนแรงต่อประชำชน สนับสนุนด้ำนเศรษฐกิจและสังคม ที่ต้องเร่งด�ำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง (ปี พ.ศ.
                                                          ิ
          ๒๕๖๑-๒๕๘๐) สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำและเป้ำหมำยตำมยุทธศำสตร์ชำต ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐)
          โดยระยะเวลำ ๕ ปีแรก (ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) ต้องแก้ไขปัญหำที่ส�ำคัญได้อย่ำงเป็นรูปธรรม
                   ๒) เพื่อพัฒนำกำรจัดกำรน�้ำเชิงลุ่มน�้ำทั้งระบบ เพิ่มควำมมั่นคงด้ำนน�้ำของประเทศ โดยจัดให้
          มีน�้ำสะอำดใช้ทุกครัวเรือนในชุมชนชนบทและกำรเจริญเติบโตของเขตเมือง กำรป้องกัน ฟื้นฟู รักษำเขตต้นน�้ำ
          สภำพสิ่งแวดล้อม ล�ำน�้ำและแหล่งน�้ำธรรมชำติ
                   ๓) เพื่อเพิ่มผลิตภำพของน�้ำทั้งระบบ โดยกำรจัดหำน�้ำและใช้น�้ำอย่ำงประหยัด รู้คุณค่ำ และ
                                 ี
                           ้
                                              ั
                                                   ิ
                                     ั
                                                             ิ
                  ิ
          สร้ำงมลค่ำเพมจำกกำรใช้นำให้ทดเทยมระดบสำกล รองรบกำรเตบโตของเศรษฐกจและสงคมในอนำคต
                  ่
                                                                  ั
                           �
                              ั
              ู
          ทั้งภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม บริกำรและพลังงำน
                       ื
                                           �
                   ๔) เพ่อจัดระบบกำรจัดกำรภัยพิบัติจำกน้ำให้สำมำรถลดควำมสูญเสีย ลดควำมเสี่ยงจำกภัยพิบัต  ิ
           ี
                �
          ท่เกิดจำกน้ำตำมหลักวิชำกำร มีประสิทธิภำพ และแบ่งตำมลักษณะของแต่ละลุ่มน้ำ พ้นท ให้อยู่ในขอบเขต
                                                              ื
                                                                ่
                                                                ี
                                                            �
          ที่ควบคุมและให้สำมำรถฟื้นตัวได้ในเวลำอันสั้น
                   ๕) เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำร มีกำรจัดหำและใช้น�้ำที่สมดุล ทันสมัย ทันกำรณ์
                                  ั
          และสร้ำงควำมเป็นธรรม ใช้มำตรกำรท้งด้ำนโครงสร้ำง กฎระเบียบ องค์กรกำรจัดกำร กำรจัดกำรข้อมูล
                                               ื
          กำรเตือนภัย กำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรม ให้สำมำรถขับเคล่อนงำนภำยใต้แผนแม่บทด้ำนน้ำและงำนตำม
                                                                  �
          พระรำชบัญญัติทรัพยำกรน�้ำ
          ๑.๓ กรอบแนวคิดกำรด�ำเนินงำน
                   ๑) ยึดแนวทำงตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล
          ควำมมีภูมิคุ้มกันที่ดี ภำยใต้เงื่อนไขควำมรู้และเงื่อนไขคุณธรรม
                   ๒) ยึดยุทธศำสตร์ชำติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) “ยุทธศำสตร์ที่ ๕ ยุทธศำสตร์ด้ำน
          กำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ในประเด็นหลักที่ ๕.๑ “สร้ำงกำรเติบโตอย่ำง
                                ื
          ย่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว ในเร่อง “กำรอนุรักษ์ฟื้นฟูแม่น้ำล�ำคลองและแหล่งน้ำธรรมชำติท่วประเทศ”
                                                             �
                                                                    ั
                                                �
          ั
          และประเด็นหลักที่ ๕.๕ พัฒนำควำมมั่นคงน�้ำ พลังงำน และเกษตร ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในเรื่อง “พัฒนำ
                                             �
                                                           ื
                       �
                         ั
          กำรจัดกำรน้ำเชิงลุ่มน้ำท้งระบบ เพ่อเพ่มควำมม่นคงด้ำนน้ำของประเทศ” และเร่อง “เพ่มผลิตภำพของน�้ำ
                 �
                                                                ิ
                                       ั
                                  ิ
                               ื
          ทั้งระบบ ในกำรใช้น�้ำอย่ำงประหยัด รู้คุณค่ำ และสร้ำงมูลค่ำเพิ่มจำกกำรใช้น�้ำให้ทัดเทียมกับระดับสำกล”
                                                              ั
                                                                          ึ
                                                                      ้
                                                                      �
                                      ุ
                      ึ
                         ั
                                                ุ
                                                       ู
                   ๓) ยดหลกกำรสร้ำงควำมสมดลระหว่ำงกำรอนรกษ์ ฟื้นฟ และกำรพฒนำแหล่งนำรวมถง
                                                 ั
          กำรใช้ประโยชน์ทรัพยำกรน้ำ เพ่อตอบสนองปัญหำควำมต้องกำรในทุกด้ำนอย่ำงย่งยืน โดยกำรจัดหำแหล่ง
                                                            ั
                              ื
                          �
          เก็บกักน้ำ ต้องพิจำรณำกำรจัดล�ำดับควำมส�ำคัญท่ตอบสนองต่อเป้ำหมำย ทิศทำงกำรพัฒนำของประเทศใน
                                        ี
               �
          แต่ละด้ำนในภำพรวม และแนวโน้มกำรพัฒนำในอนำคต รวมทั้งกำรให้ควำมส�ำคัญกับทุกภำคส่วนในกำรใช้น�้ำ
          ทั้งด้ำนอุปโภคบริโภค กำรผลิต (เกษตรและอุตสำหกรรม) และเพื่อรักษำระบบนิเวศ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91