Page 121 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 121

กลุ่มที่  ๒  มีรูปร่างทรวดทรงตามลักษณะภูมิประเทศที่ตั้งเมือง  เช่น   แบบโดมเกลือ  และ  “เมืองป้อมภูเขำ”  สร้างก�าแพงเมือง-คูเมือง  โดยการ
               “เมืองบนเนินโดมเกลือ”  สร้างก�าแพงเมือง-คูเมือง  โดยการขุดคู-คันดิน  ขุดคู-คันดินลึกต่างระดับล้อมรอบบริเวณไปตามขอบยอดเนินใช้ประโยชน์
               ล้อมรอบภูมิลักษณ์แบบเนินโดมเกลือที่มีแอ่งยุบล้อมรอบเป็นรูปวงแหวน ซึ่งพบ  ในการป้องกัน  ส�ารวจพบเฉพาะในบริเวณภาคเหนือโดยไม่พบในส่วนอื่น

               เฉพาะในบริเวณแอ่งที่ราบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีลักษณะธรณีวิทยา  ของประเทศ
               รองรับด้วยชั้นตะกอนหินเกลือเป็นชั้นหนาและแทรกตัวขึ้นเป็นโครงสร้างธรณี

















































               โครงกำรวิจัยชุมชนโบรำณจำกภำพถ่ำยทำงอำกำศ                                                                  ทิวำ ศุภจรรยำ, ๒๕๒๘

                     “รูปแบบเมืองซ้อน” มีตัวอย่างเห็นได้ที่เมืองพลับพลา ต�าบลพลับพลา   และขุดขยายพื้นที่ล้อมรอบบริเวณตีนเนินตามรูปแบบวัฒนธรรมเดิมในยุค
               อ�าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา ก�าแพงเมือง-คูเมืองเป็นรูปแบบเมืองซ้อน   ก่อนประวัติศาสตร์ไม่น้อยกว่าสองถึงสามพันปีมาแล้วเป็นชั้นที่ ๒ ต่อมาภายหลัง

               คู-คันดินขุดลึกถึงระดับกักเก็บน�้าล้อมรอบที่บริเวณตีนเนินซ้อนกัน  ๒  ชั้น   ที่เมืองพัฒนาขึ้นได้สร้างก�าแพงเมือง-คูเมือง  เป็นรูปแบบเส้นตรงมุมเหลี่ยม
               และมีคูคันล้อมรอบบริเวณเดิมเป็นรูปแบบเส้นตรงมุมเหลี่ยมเป็นชั้นที่  ๓   ขยายพื้นที่เมืองใหญ่ออกไปเป็นชั้นที่ ๔ เป็นรูปแบบนิยมตามวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น
               แสดงให้เข้าใจถึงภูมิปัญญาการสร้างบ้านแปงเมือง มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ  ภายหลัง  ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นวัฒนธรรมขอม  ซึ่งยังต้องพิสูจน์ด้วยการก�าหนด
               บริเวณซ้อนกันหลายรูปแบบ  รอบตีนเนินชั้นในสุดสร้างขึ้นก่อนเป็นชั้นที่  ๑   เวลาทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนความเชื่อดังกล่าว























                                                                                                                               l  107  107
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126