Page 32 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 32

 ทรงสนพระทัย
         ในงานพิพิธภัณฑ์










             โครงการพระราชด�าริชลประทานน�้านองคลองท่อทองแดง


             ทรงให้ขุดลอกคลองโบราณแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้าท�านา






             พ.ศ. ๒๕๒๑ โครงการพระราชด�าริชลประทานน�้านองคลองท่อทองแดง
             จากแม่น�้าปิง เมืองก�าแพงเพชรถึงเมืองบางพาน
                   เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๒๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ
             พระราชทานธงลูกเสือชาวบ้านที่จังหวัดก�าแพงเพชร ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวาย

             ฎีกาให้ทรงทราบถึงปัญหาขาดแคลนน�้าท�านา อันเนื่องมาจากคลองโบราณ
             น�าน�้าจากแม่น�้าปิงที่ก�าแพงเพชรไปยังเมืองบางพานได้ตื้นเขิน
             รุ่งขึ้นวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๒๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
             แผนที่แนวคลองโบราณตามที่ราษฎรเมืองบางพานได้กราบบังคมทูล
             ให้แก่กรมชลประทานขุดลอก  และส�าเร็จสมดังพระราชประสงค์ด้วย
             งบประมาณตาม “โครงการพระราชด�าริคลองชลประทานน�้านองคลอง
             ท่อทองแดง” พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๒๘ สามารถแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้า

             ท�านาในจังหวัดก�าแพงเพชร  และได้พัฒนาต่อเนื่องสามารถช่วยเหลือ
             พื้นที่ท�านาได้นับล้านไร่ และยังขยายพื้นที่โครงการชลประทานออกไปได้อีก
             ครอบคลุมพื้นที่เนินตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชรจนถึงจังหวัดนครสวรรค์



























             พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชด�ารัสให้หาวิธีขุดลอกคลองโบราณ
             จากเมืองบางพานน�าน�้าไปใช้ที่สุโขทัย

                   เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว   “แม่น�้ายมในฤดูฝนมีน�้ามาก ในฤดูแล้งน�้าเกือบจะไม่มี ให้หาทางกั้นน�้าเป็นช่วงๆ
             ได้เสด็จพระราชด�าเนินทรงเป็นองค์ประธานเบิกเนตรพระพุทธรูปที่จังหวัด  แล้วผันเข้าคลองธรรมชาติที่มีอยู่เดิมทั้งฝั่งซ้ายและฝั่งขวาของแม่น�้ายม แล้วมีการขุดลอกให้
             สุโขทัย ได้ทรงมีพระราชด�ารัสโปรดเกล้าฯ ให้แม่ทัพภาคที่ ๓ และผู้ว่า  สามารถส่งน�้า และน�าไปเก็บกักไว้ตามหนองบึงธรรมชาติต่อไป”
             ราชการจังหวัดสุโขทัย ศึกษาความเป็นไปได้ในการขุดลอกคลองโบราณ
             ต่อจากเมืองบางพานไปใช้แก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้าในจังหวัดสุโขทัย           พระราชทานพระราชด�าริแก่แม่ทัพภาคที่ ๓ และผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
             แต่ไม่สามารถด�าเนินการให้เป็นไปตามพระราชด�าริได้ ด้วยเหตุผลจากการ                          เกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน�้าจังหวัดสุโขทัย
             ศึกษาเบื้องต้นถึงความเป็นไปได้ในทางวิศวกรรม นับเป็นการสูญเสียโอกาส                        เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕
             ของการอนุรักษ์ไปอย่างน่าเสียดาย ที่การศึกษาความเป็นไปได้ครั้งนั้น
             ขาดการทบทวนหาหลักฐานร่องรอยภูมิปัญญาการชลประทานในอดีตที่เป็น

             หลักฐานส�าคัญในการจัดการน�้าที่ประทับไว้บนแผ่นดิน







            18 18   l
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37