Page 36 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 36
่
พื้นทีเกษตรกรรมท�านารับน�้าจากโครงการชลประทาน
ตามแนวพระราชด�าริ
ปัจจุบันโครงการพระราชด�าริชลประทานน�้านองคลองท่อทองแดงอยู่ในส่วนรับผิดชอบของส�านักชลประทาน เข้าระบบไปตามแนวคลองโบราณ “แนวคลอง
ที่ ๔ จังหวัดก�าแพงเพชร ได้มุ่งเน้นการพัฒนาระบบส่งน�้า และบ�ารุงรักษาคลองท่อทองแดง โดยโครงการมีพื้นที่ ท่อทองแดง” ซึ่งได้รับการปรับปรุงให้ใช้ในการส่งน�้า
ครอบคลุมเขตพื้นที่ด้านตะวันออกของแม่น�้าปิง ในเขตอ�าเภอเมือง อ�าเภอพรานกระต่าย และอ�าเภอลานกระบือ ด้วยวิธีการก่อสร้างอาคารบังคับน�้า ณ ต�าแหน่งต่างๆ
จังหวัดก�าแพงเพชร และฝั่งตะวันตกของแม่น�้ายมในเขตอ�าเภอคีรีมาศ และอ�าเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ให้น�้าไหลไปได้เองตามแรงโน้มถ่วงธรรมชาติ
รวมบริเวณพื้นที่โครงการทั้งสิ้น ๓๘๓,๘๐๐ ไร่ โดยมีเป้าหมายส่งน�้าให้เกษตรกรในพื้นที่ราบ สามารถส่งน�้า
ความส�าเร็จในการขุดลอกคลองโบราณตามแนวพระราชด�าริ เพื่อแก้ปัญหา
ขาดแคลนน�้าท�านาดังกล่าว มิได้เป็นเพียงความส�าเร็จส่วนหนึ่งของการขุดลอกคลอง
ชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” เท่านั้น หากแต่เป็นตัวอย่างเริ่มต้นของการอนุรักษ์
และรู้จักน�าภูมิปัญญาในอดีตมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการน�้าในปัจจุบัน เพื่อแก้ไข
ปัญหาขาดแคลนน�้ายามแล้ง และปัญหาน�้าท่วมในฤดูน�้าหลาก ข้อมูลในภาพจาก
ดาวเทียมแสดงให้เห็นแนวคลองชลประทานโบราณยาวตลอดพื้นที่ก�าแพงเพชร-
สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย และพื้นที่ภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชร ซึ่งคลุมพื้นที่
กว้างถึงเมืองนครสวรรค์ สามารถพัฒนาภายใต้การบริหารจัดการน�้าดังกล่าว
22 22 l