Page 40 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 40
“ท่อปู่ พระยาร่วง”
่
ทีมาของการสร้างเมืองสุโขทัย
ก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัย และพระพายหลวงยังคงอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์มาแต่อดีต และได้รับการบูรณะ ระยะที่ ๑ วัดพระพายหลวง (๑) และ
ตามแนวเดิม เห็นได้จากการเปรียบเทียบรูปถ่ายทางอากาศที่บันทึกในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๔, ๒๕๑๐, ๒๕๑๗ และ ท่อปู่พระยาร่วงสร้างขึ้นพร้อมกันกับบารายเก่า
ภาพจากดาวเทียมไทยโชต พ.ศ. ๒๕๕๔ พบหลักฐานแสดงให้เห็นได้ว่าคลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” (๔) บริเวณที่เรียกในปัจจุบันว่าตลาดปสาน
สร้างขึ้นก่อน พร้อมบารายพระพายหลวงและคลองแม่ร�าพัน ส่วนก�าแพงและคูเมืองสุโขทัยนั้นสร้างขึ้นภายหลัง ท�าหน้าที่ควบคุมระดับน�้าและระบายน�้าส่วนเกิน
โดยอาศัยแนวคลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” เป็นคูเมืองด้านตะวันออก ผ่านคลองแม่ร�าพันออกสู่แม่น�้ายม
ผังเมืองสุโขทัย และวัดพระพายหลวง ระยะที่ ๒ เมืองสุโขทัยสร้างขึ้นครั้งแรก
แผนผังบริเวณวัดพระพายหลวง (๑) อยู่ประชิดต่อเนื่องกับก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัย (๒) โดยที่ เป็นคูชั้นเดียว โดยอาศัยแนวคลองชลประทาน
เมืองสุโขทัยตั้งอยู่ทางทิศใต้ของวัดพระพายหลวงซึ่งสร้างขึ้นก่อน เห็นได้จากคันดินพระพายหลวง ถูกซ้อนทับ ท่อปู่พระยาร่วงเป็นแนวคูเมืองด้านตะวันออก
ด้วยผังเมืองสุโขทัยซึ่งสร้างขึ้นในภายหลัง ผังบริเวณทั้งสองสัมพันธ์กับบารายเก่า (๔) ซึ่งเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ ด้านทิศเหนือจรดบาราย และให้ปากคลองแม่
เป็นตลาดปสานหลังจากที่ได้สร้างบารายขึ้นใหม่ (๕) ต่อจากบารายเก่าไปทางทิศตะวันออก อันเนื่องมาจาก ร�าพัน (๗) เป็นกึ่งกลางคูเมือง วัดระยะทางจาก
การขยายก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัยให้เป็นตรีบูร (๒-๓) มีประตูเมืองเป็นป้อมสี่ด้าน และมีคลองเลี่ยงคูเมือง คลองแม่ร�าพันไปสุดมุมเมืองด้านทิศเหนือและ
(๖) เชื่อมต่อกับคลองยางที่ขุดจากคลองท่อปู่พระยาร่วง เพื่อระบายน�้าออกจากบารายที่สร้างขึ้นใหม่ออกสู่แม่น�้ายม ด้านทิศใต้เท่ากัน และสร้างแนวก�าแพงเมือง-
เพื่อให้แยกออกจากระบบและไม่เป็นอันตรายต่อก�าแพงเมือง-คูเมือง ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบผังเมืองสุโขทัย คูเมืองด้านอื่นเป็นมุมฉากกับด้านตะวันออกล้อม
และวัดพระพายหลวง แสดงให้เห็นวิวัฒนาการของเมืองพิจารณาเป็นล�าดับ ดังนี้ รอบเมือง (๒)
17 ํ 04’ N
99 ํ 50’ E
ระยะที่ ๓ สร้างก�าแพงเมือง-คูเมือง
สุโขทัยเป็นตรีบูร (๒-๓) (คู ๓ ชั้น และคันดิน
อีก ๓ ชั้น) โดยขุดคูเมืองเพิ่มขึ้นล้อมรอบบริเวณ
ด้านนอกเมืองเดิม ๑ แนว และด้านในเมือง
อีก ๑ แนว รวมเป็นคู ๓ ชั้น มีคันดิน หรือ
คลองแม่รําพัน ก�าแพงอีก ๓ ชั้น ก�าแพงเมือง-คูเมืองที่สร้าง
ขึ้นใหม่ล้อมรอบแนวเดิม มีปัญหาการระบายน�้า
แม่นํ้ายม
ปิดกั้นแนวคูท่อปู่พระยาร่วง จึงได้สร้างบาราย
คลองยาง
ที่พระพายหลวงขึ้นใหม่ (๕) และขุดคลอง
เลี่ยงเมือง (๖) ขนานกับคูเมืองด้านตะวันออก
N
ให้เชื่อมต่อกับคลองยางซึ่งขุดขึ้นใหม่เป็น
แนวท่อปู่พระยาร่วง
16 ํ 57’ N ทางระบายน�้าออกสู่แม่น�้ายม ท�าให้การระบายน�้า
99 ํ 40’ E 2 km. ตามคลองท่อปูพระยาร่วงแยกจากระบบ
ก�าแพงเมือง-คูเมือง และมีประสิทธิภาพดีขึ้น
26 26 l