Page 2 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 12
P. 2
2 ผลงานเดน DMS
สถาบันมะเร็งแหงชาติเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาโรคมะเร็งดวย
เครื่องฉายรังสีศัลยกรรมรุนลาสุด
สถาบันมะเร็งแหงชาติ กรมการแพทยเปดตัวเครื่องฉายรังสีศัลยกรรม
Cyberknife พรอมใหบริการผูปวยดวยรังสีรักษาที่เที่ยงตรง แมนยำ
กระทบเนื้อเยื่อปกตินอยที่สุด
นายแพทยณรงค อภิกุลวณิช
รองอธิบดีกรมการแพทยและโฆษกกรมการแพทย
กลาววา โรคมะเร็งเปนปญหาสำคัญทางสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก กรมการแพทย
กระทรวงสาธารณสุขไดเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของปญหาโรคมะเร็งซึ่งปจจุบัน
เปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย จึงไดจัดใหโรคมะเร็งเปนหนึ่งในโรคที่อยูใน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อลดอัตราการปวย ลดอัตราการเสียชีวิต
จากโรคมะเร็ง และลดระยะเวลาการรอคอยการรักษา ตลอดจนการพัฒนามาตรฐานสถานบริการ
ใหมีมาตรฐานเพื่อใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปจจุบันมีการนำนวัตกรรมดานการรักษาโรคมะเร็ง
ที่กาวหนา การรักษามะเร็งที่เปนเปาหมายเฉพาะจุด มีผลขางเคียงนอยลง และไดผลการรักษาที่ดีขึ้น
จึงไดมีการจัดหาเครื่องฉายรังสีศัลยกรรม Cyberknife รุนลาสุด เครื่องแรกของประเทศไทย
มารักษาผูปวยโรคมะเร็ง เพื่อใหผูปวยสามารถเขาถึงบริการการฉายรังสีที่มีคุณภาพสูง
และมีผลการรักษาที่ดี
นายแพทยวีรวุฒิ อิ่มสำราญ
ผูอำนวยการสถาบันมะเร็งแหงชาติ
กลาวเพิ่มเติมวา มะเร็งปอด และมะเร็งตับ เปนมะเร็งที่พบเปนอันดับตน ๆ ในคนไทย
ทั้งเพศหญิงและเพศชาย การฉายรังสีในมะเร็งกลุมนี้มีความเสี่ยงสูง มีโอกาสเกิดผลขางเคียง
ที่รุนแรง เนื่องจากเปนอวัยวะที่มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาตามการหายใจ จึงเปนขอจำกัดอยางมาก
ในการฉายรังสี เครื่องฉายรังสี Cyberknife เปนเครื่องฉายรังสีในลักษณะของแขนกล สามารถ
ฉายรังสีไดหลายทิศทาง เคลื่อนที่ไดเกือบรอบตัวผูปวย ความพิเศษของเครื่องรุนนี้ มีการ
เพิ่มระบบอุปกรณในการกำบังรังสีและกำหนดรูปราง เพื่อปรับความเขมของลำรังสี ทำให
สามารถสรางรูปรางของลำรังสีในรูปแบบตาง ๆ ไดอยางอิสระ รวมถึงเพิ่มระบบติดตามเปาหมาย
ที่มีการเคลื่อนที่ตามการหายใจ อยางเชน กอนในปอด กอนในตับไดอยางแมนยำ นอกจากนั้น
ยังออกแบบมาเพื่อเทคนิคการฉายรังสีรวมพิกัดหรือรังสีศัลยกรรมเปนหลัก ใหความเขมของ
รังสีไดสูง รวดเร็ว มีการกระจายของรังสีไปยังเนื้อเยื่อขางเคียงนอย เปนการรักษาที่มีความซับซอน
มีความละเอียดสูง นอกจากจะฉายรังสีดวยเทคนิครังสีศัลยกรรมแลว เครื่องนี้ยังสามารถใชเทคนิคการฉายรังสีแบบปรับความเขม
ไดดวยเชนกัน ดังนั้น จึงเหมาะสมกับการนำมารักษาโรคมะเร็งที่เปนกอนขนาดไมเกิน 6 เซนติเมตร ที่อยูในตำแหนงที่เปนจุดสำคัญ
และเปนอวัยวะที่ไวตอรังสี เชน เนื้องอกในสมอง มะเร็งปอด มะเร็งตับ ในระยะเริ่มตนที่ไมสามารถผาตัดได หรือมีการกลับมาเปนซ้ำ
ของมะเร็งในตำแหนงที่เคยไดรับการฉายรังสีมากอน เปนตน สงผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีโอกาสที่จะหายจากโรคมะเร็งมากขึ้น
สารกรมการแพทย ปที่ 1 ฉบับที่ 12 กันยายน 2561