Page 2 - สมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
P. 2
ประวัติศาสตร์ ม. ๓ หน่วยการเรียนที่ ๓ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ ๑
ลักษณะการเมืองการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์สมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
การเมืองการปกครองสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่รัชการที่๔
เป็นยุคที่ไทยเริ่มรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมตะวันตก
การท าสนธิสัญญาเบาริง(พ.ศ.๒๓๙๘)
อังกฤษของตั้งสถานกงสุลในไทย
คนอังกฤษมีสิทธิเช่าที่ดินในประเทศไทยได้
คนอังกฤษสามารถสร้างวัดและเผยแพร่คริสต์ศาสนาได้
เก็บภาษีขาเข้าได้ไม่เกินร้อยละ ๓
พ่อค้าอังกฤษและพ่อค้าไทยมีสิทธิค้าขายกันโดยเสรี
ถ้าไทยท าสนธิสัญญากับประเทศอื่นๆ ที่มีผลประโยชน์เหนือ ประเทศอังกฤษจะต้องท าให้อังกฤษด้วย
ผลของสนธิสัญญาเบาริง
ผลดี
– ไทยรอดพ้นจาการเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
– การค้าขายขยายตัวมากขึ้น
– อารยธรรมตะวันตกเข้ามาแพร่หลาย
ผลเสีย
– ไทยเสียสิทธิทางการศาลให้อังกฤษ
– อังกฤษเป็นชาติที่ได้รับสิทธิพิเศษหลายอย่าง
– อังกฤษเป็นฝุายได้เปรียบ จึงไม่ยอมท าการแก้ไข
การปฏิรูปการเมืองการปกครองสมัยรัชการที่๕
ในสมัย ร.๕ (พ.ศ.๒๔๑๑-๒๔๕๓) เป็นช่วงที่บ้านเมืองมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เพื่อให้ทันสมัยเท่ากับอารยประเทศ
๑.การจัดตั้งสภาที่ปรึกษา พ.ศ.๒๔๗๑
๒.การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๔๓๕
๓.การจัดตั้งรัฐมนตรีสภา พ.ศ.๒๔๓๗
การจัดตั้งสภาที่ปรึกษา
ประกอบด้วย ๒ สภา
๑.สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน(Council of State) ประกอบด้วยขุนนาง ๑๒ คนท าหน้าที่เกี่ยวกับถวายความเห็น
เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน
๒.สภาที่ปรึกษาในพระองค์(Privy Council) ประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และขุนนางรวม ๔๙ คน ท าหน้าที่เป็น
ที่ปรึกษาส่วนพระองค์ในเรื่องเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน (คล้ายกับองคมนตรีในปัจจุบัน)
ครูผู้สอน คุณครูจิราพร พิมพ์วิชัย