Page 3 - สมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
P. 3
ประวัติศาสตร์ ม. ๓ หน่วยการเรียนที่ ๓ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ ๒
การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหาราชการส่วนกลาง ให้ยกเลิกต าแหน่งอัครมหาเสนาบดีและเสนาบดีจตุสดมภ์ที่ใช้กันมาตั้งอยุธยา
ตั้งกระทรวงขึ้นมาแทน ๑๒ กระทรวง โดยมีเสนาบดีเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
– ยกเลิกการแบ่งหัวเมืองส่วนภูมิภาคที่เป็นเมืองชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี และชั้นจัตวาและยกเลิกฐานะเมืองประเทศ
ราช
– จัดการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาล ขึ้นแทน โดยรวมหัวเมืองต่างๆตั้งแต่๓เมืองขึ้นไปเป็นมณฑล ขึ้นต่อ
กระทรวงมหาดไทย ผู้ปกครองมณฑลเรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาล หรือ สมุหเทศาภิบาล
– มณฑลเทศาภิบาล เมือง อ าเภอ ต าบล และหมู่บ้าน
– การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
– จัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพ พ.ศ.๒๔๔๒
– จัดตั้งสุขาภิบาลท่าฉลอม ต าบลท่าฉลอม เมืองสมุทรสาคร พ.ศ.๒๔๔๘
การจัดตั้งรัฐมนตรี
ร.๕โปรดตรากฎหมายจัดตั้ง รัฐมนตรีสภา ขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗ เพื่อให้เป็นสภาส าหรับประชุมปรึกษา
เกี่ยวกับการตรากฎหมายข้อบังคับต่างๆ
การปรับปรุงการเมือง การปกครองสมัยรัชกาลที่๖
กบฏ ร.ศ.๑๓๐
– เป็นการเคลื่อนไหวของทหารกลุ่มหนึ่ง เรียกว่าคณะพรรค ร.ศ.๑๓๐ น าโดยร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์
– เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์
อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ เกิดในปี๒๔๕๔
– แผนการเกิดรั่วไหลก่อน ถูกจับทั้งหมด
การจัดตั้งดุสิตธานี
– เป็นเมืองจ าลองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
– ตั้งขึ้นในเขตพระราชวังดุสิต เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๑
การปรับปรุงการเมือง การปกครองสมัยรัชการที่๗
จัดตั้งสภาต่างๆ เพื่อช่วยบริหารราชการแผ่นดิน
อภิรัฐมนตรีสภา เป็นสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
เสนาบดีสภา เป็นที่ประชุมของเสนาบดีประจ ากระทรวง
องคมนตรีสภา เป็นสภาที่ปรึกษาในข้อราชการที่ทรงขอความเห็น
เตรียมจัดการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล
ครูผู้สอน คุณครูจิราพร พิมพ์วิชัย