Page 27 - สมัยประชาธิปไตย
P. 27
ประวัติศาสตร์ ม. ๓ หน่วยการเรียนที่ ๔ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย ๒๕
๒๓ สิงหาคม ๒๔๘๙ พลเรือตรี ถวัลย์ ธ ารงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการ
เปลี่ยนชื่อพฤฒิสภาเป็นวุฒิสภา ก าหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง พ้นจาก
ต าแหน่งเมื่อ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ เพราะทหารท าการรัฐประหาร การรัฐประหารใน
ครั้งนี้คณะทหารให้เหตุผลว่า ท าเพื่อพระมหากษัตริย์ที่ถูกลอบปลงพระชนม์และเพื่อ
ประชาชนชาวไทย
๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่ ๓ เป็นเวลา ๓
เดือน ลาออกเมื่อ ๘ เมษายน ๒๔๙๑ เนื่องจากถูกรัฐประหาร
๘ เมษายน ๒๔๙๑ จอมพล ผิน ชุณหะวัณ เชิญ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น
นายกรัฐมนตรี นาน ๑๐ ปี
เกิดกบฏวังหลวง เมื่อ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๒ เกิดกบฏแมนฮัดตัน เมื่อ มิถุนายน
๒๔๙๔
๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ท าการรัฐประหาร ยุบสภา
๒๑ กันยายน ๒๕๐๐ นายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ลาอกเมื่อ ๒๖ ธันวาคม
๒๕๐๐ เพราะมีการเลือกตั้งทั่วไปภายหลังรัฐประหาร
๑ มกราคม ๒๕๐๑ พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกเมื่อ ๒๐ ตุลาคม
๒๕๐๑ เพื่อเปิดโอกาสให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ท าการปฏิวัติ
๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๒ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้รับต าแหน่งนายกรัฐมนตรี และถึงแก่
อนิจกรรม ขณะด ารงต าแหน่ง เมื่อ ๘ ธันวาคม ๒๕๐๖
๙ ธันวาคม ๒๕๐๖ พลเอกถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกหลังประกาศใช้
รัฐธรรมนูญฉบับที่ ๘ และสมาชิกชุดใหม่เข้ารับหน้าที่แล้ว ต่อมากลับเข้าด ารงต าแหน่ง
ครั้งที่ ๓ เมื่อ ๗ มีนาคม ๒๕๑๒ และท าการปฏิวัติตัวเองเมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
กลับเข้าด ารงต าแหน่งครั้งที่ ๔ เมื่อ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๑๕ พ้นจากต าแหน่งเมื่อ ๑๔
ผู้สอน ครูจิราพร พิมพ์วิชัย