Page 29 - สมัยประชาธิปไตย
P. 29

ประวัติศาสตร์   ม. ๓    หน่วยการเรียนที่    ๔       ประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย                             ๒๗


                                 ๒๐ ตุลาคม ๒๕๒๐ พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ รัฐประหารอีกครั้งและประกาศให้พลเอก

                                 เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ เมื่อ
                                 ๒๒ เมษายน ๒๕๒๒ ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๒๒ พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นด ารง

                                 ต าแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ ๒ ต่อมาลาออกเพราะประสบปัญหาน้ ามัน ใน

                                 ตลาดโลกมีราคาแพงส่งผลกระทบให้สินค้ามีราคาสูงขึ้น ค่าครองชีพสูง รัฐบาลไม่
                                 สามารถแก้ปัญหาได้ จึงลาออก เดือน มีนาคม ๒๕๒๓

                                 เดือน มีนาคม ๒๕๒๓ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมือง

                                 และฝุายทหาร
                                 ให้ด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี นาน ๘ ปี เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้ามีการลงทุนท า

                                 ธุรกิจ ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ท าให้เงินตราจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศมาก

                                 ขึ้น
                                 ๑ เมษายน ๒๕๒๔ “กบฎ ๑ เมษา” โดยพลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา

                                 ๙ กันยายน ๒๕๒๘ “กบฎ ๙ กันยา”

                                 การเลือกตั้ง ในปี ๒๕๓๑ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เข้าด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี

                                 ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รสช. ท าการปฏิวัติ โดย

                                 มีพลเอกสุนทร คงสมพงษ์เป็นหัวหน้าและมอบหมายให้นายอานันท์ ปัญญาชุน เป็น
                                 นายกรัฐมนตรีบริหารประเทศชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่


                                 ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๕ มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคที่ได้เสียงข้างมากสนับสนุนให้ พลเอกสุ
                                 จินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี สร้างความไม่พอใจให้แก่นิสิต นักศึกษา

                                 ประชาชนทั่วไป เพราะพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นบุคคลที่รวมอยู่ในคณะ
                                 รัฐประหารของ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงมีการเดินประท้วงคัดค้านอัน

                                 น าไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ระหว่างวันที่ ๑๗-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๕
                                 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช ได้ขอร้องให้ทุกฝุายยุติความขัดแย้งกัน

                                 หลังจากนั้น พลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ลาออก





                                 ประธานรัฐสภาได้เสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง และจัดให้
                                 มีการเลือกตั้งใหม่





                                                                                      ผู้สอน ครูจิราพร  พิมพ์วิชัย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34