Page 36 - ภัมภีร์กศน.
P. 36

สรุป
                 การศึกษาตามอัธยาศัยเน้นที่ผู้เรียนที่ต้องการเสาะแสวงหา
          ความรู้ด้วยตนเอง แต่องค์กรทางการศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน
          การจัดการศึกษาจะต้องจัดหาและเตรียมแหล่งเรียนรู้ไว้ให้พร้อม  ให้มี

          กิจกรรมหลากหลายสำหรับให้บริการแก่ผู้ที่ด้องการแสวงหาความรู้ตาม
          อัธยาศัยอย่างครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ และทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดย
          ความร่วมมือขององค์กรต่างๆ ในสังคมในรูปของภาคีเครือข่าย เพื่อสร้าง
          สังคมแห่งการเรียนรู้และการพัฒนาที่ยั่งยืน

          ผู้เรียบเรียง  ประวีณ รอดเขียว หน่วยศึกษานิเทศก์

          เอกสารและแหล่งอ้างอิง

          กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2544. การศึกษาตามอัธยาศัย แนวความคิด
                 และประสบการณ์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
                 (ร.ส.พ.).
          ชัยยศ  อิ่มสุวรรณ์  วิศนี  ศิลตระกูล  และ  อมรา  ปฐภิญโญบูรณ์.  2544.
                 การศึกษาตามอัธยาศัย  :  จากแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสู่
                 แนวปฏิบัติ.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย
                 กรมการศึกษานอกโรงเรียน.
          ปฐม นิคมานนท์. 2532. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการศึกษาตลอด
                 ชีวิตและการศึกษานอกระบบหน่วยที่ 6 ปรัชญาและหลักการของ

                 การศึกษานอกระบบ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย
                 สุโขทัยธรรมาธิราช.
          สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ.
                 พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
          อุดม เชยดีวงศ์. 2544. แนวทางการบริหารและการจัดการ : การศึกษา

                 นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. 2532. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
                 บรรณกิจ.



         0     เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภีร์ กศน.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41