Page 8 - CA3.3
P. 8

ระบบการคัดกรองและป้ องกันมะเร็งเต้านมในประเทศไทย        คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล และคณะ  79



                       เต้านมระยะเริ�มแรกและเป็นมาตรฐานในการให้บริการ  สตรีไทยต่อไป

                       สุขภาพแก่ประชากรสตรีอย่างทั�วถึง (population-
                       based breast cancer screening program) 6,7           วัสดุและวิธีการ

                       โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศรายได้น้อย (low income กลุ่มตัวอย่าง
                       countries: LICs) และรายได้ปานกลาง (middle in-    การศึกษานี�เป็ นการศึกษาวิจัยเชิงสังเกต

                       come countries: MICs) ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก  (observational research) ซึ�งใช้กระบวนการวิจัย

                       พบว่าอัตราการมาพบแพทย์ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม  เชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลในรูปแบบการสัมภาษณ์
                       ระยะลุกลามยังคงสูง  ในแง่ของข้อมูลเชิงระบาดวิทยา  เชิงลึก (depth interview) เกี�ยวกับประสบการณ์การ
                                      8
                       พบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรค ระยะของโรคเมื�อได้รับ  บริหารโครงการ/โปรแกรมการคัดกรองมะเร็งเต้านม

                       การวินิจฉัย และอายุของสตรีเมื�อเกิดมะเร็งเต้านม  ระยะเริ�มแรก ซึ�งมีการนําไปใช้เหมือนกันทุกจังหวัด
                       แตกต่างไปจากประเทศทางตะวันตก รวมทั�งปัจจัยเชิง  ทั�วประเทศตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข

                       ชีวภาพสังคม เช่น วิถีการดําเนินชีวิต ฮอร์โมนเพศหญิง  โดยการเลือกตัวแทน 1 คนของชุมชนเมือง และอีก 1 คน

                       ความผิดปกติของสารพันธุกรรมที�ทํานายการเกิด  ของชุมชนชนบท สําหรับจํานวนผู้เชี�ยวชาญวิพากษ์
                       มะเร็งเต้านม (BRCA 1&2) มักได้รับความสนใจและ  10 คน เป็นขนาดกลุ่มที�ได้รับการยอมรับและใช้กัน

                       มีการศึกษารายงานจํานวนมาก อย่างไรก็ตามยังไม่พบ  แพร่หลายทั�วไปในการพิจารณาตรวจสอบความตรง/
                       งานวิจัยที�ศึกษาเกี�ยวกับระบบการบริการ นโยบาย  คุณภาพของข้อมูล

                       พื�นฐานในการป้ องกันและคัดกรองมะเร็งเต้านมใน     ในการศึกษาครั�งนี� คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลัก

                       ระยะเริ�มแรกในประเทศไทย                   ตามเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัย (inclusion
                             คณะผู้วิจัยตระหนักถึงอุบัติการณ์และความ  criteria) ประกอบด้วยบุคคล 2 กลุ่ม ได้แก่

                       รุนแรงของมะเร็งเต้านมว่าเป็ นปัญหาสําคัญระดับ    1. ผู้บริหารโครงการการคัดกรองมะเร็งเต้านม
                       ประเทศและภูมิภาคเอเชีย จึงสนใจศึกษาประเด็นที�  ในระยะเริ�มแรก จํานวน 2 คน โดยคัดเลือกจากชุมชน

                       เกี�ยวข้องกับการป้ องกันโรคดังกล่าวซึ�งต้องอาศัยความ  เมือง 1 คนและชุมชนชนบท 1 คน ซึ�งมีคุณสมบัติเป็น

                       ร่วมมือจากทุกฝ่าย การศึกษาวิจัยครั�งนี�มีวัตถุประสงค์  ผู้บริหารโครงการ/โปรแกรมการป้ องกันและคัดกรอง
                       เพื�อวิเคราะห์การจัดระบบบริการสุขภาพในการป้ องกันและ  มะเร็งเต้านมในระยะเริ�มแรก และยินดีให้ความร่วมมือ

                       การคัดกรองมะเร็งเต้านมในระยะเริ�มแรกในประเทศไทย  ในการสัมภาษณ์

                       ข้อมูลจากการศึกษาวิเคราะห์ครั�งนี� จะเป็นประโยชน์  �. กลุ่มผู้เชี�ยวชาญวิพากษ์ข้อมูล (panel ex-
                       ในการวางแผนการจัดระบบ/โปรแกรมการป้ องกัน  pert) จํานวน 10 คน ประกอบด้วย พยาบาลที�มี

                       คัดกรองมะเร็งเต้านมระยะเริ�มแรกที�มีประสิทธิภาพ  ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยมะเร็งไม่น้อยกว่า 5 ปี

                       เพื�อลดอุบัติการณ์ความรุนแรงของมะเร็งเต้านมใน  จํานวน 1 คน พยาบาลวิจัยที�มีประสบการณ์ด้านการ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13