Page 10 - CA3.3
P. 10

ระบบการคัดกรองและป้ องกันมะเร็งเต้านมในประเทศไทย        คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล และคณะ  81



                       อัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย BSE, CBE,  ตนเอง (BSE) การตรวจเต้านมด้วยบุคลากรทางสาธารณสุข

                       และ mammogram วิเคราะห์ข้อมูลที�ได้จากการ  (CBE) และการตรวจเต้านมด้วยแมมโมแกรม (mam-
                       สัมภาษณ์ โดยใช้การวิเคราะห์เนื�อหาเชิงปริมาณ  mography screening ) ของสตรีไทย ดังรายละเอียด

                       (quantitative content analysis)  การสัมภาษณ์  แสดงในตารางที� 1
                                                  9
                       ถูกถอดเทปออกมาเป็นข้อความ (transcribed) และ      ผลจากการสืบค้นข้อมูล/เอกสารเกี�ยวกับ

                       ตรวจสอบฟังซํ�าเพื�อความถูกต้อง จําแนกการวิเคราะห์  ระเบียบ ข้อปฏิบัติ และนโยบายแห่งชาติที�เกี�ยวข้องกับ

                       ในประเด็นต่าง ๆ ตามโครงสร้างคําถามในแบบสอบถาม  การป้ องกันควบคุมมะเร็งเต้านมพบว่า ประเทศไทย
                       เกี�ยวกับการจัดระบบบริการสุขภาพในการป้ องกัน  มีการกําหนดนโยบายการป้ องกันและควบคุมไว้ใน

                       และการคัดกรองมะเร็งเต้านมในระยะเริ�มแรกใน  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  โดยมี
                                                                                                  15
                       ประเทศไทย นําผลที�ได้ทั�งหมดมาผ่านการประชุม  วัตถุประสงค์เพื�อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง 16
                       วิพากษ์/ให้ข้อคิดเห็นโดยกลุ่มผู้เชี�ยวชาญ (panel ex-  โดยมีสถาบันมะเร็งแห่งชาติสังกัดกรมการแพทย์

                       pert) ด้านการป้ องกัน รักษาและฟื�นฟูสภาพผู้ป่ วย  กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักเกี�ยวกับการ

                       มะเร็งเต้านม จํานวน 10 ราย เพื�อตรวจสอบความ  ศึกษาค้นคว้า วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี
                       ถูกต้องของสรุปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที�ได้จากการสืบค้น  วิชาการทางการแพทย์ด้านโรคมะเร็ง การฝึกอบรมแก่

                       และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโครงการคัดกรอง  แพทย์และพยาบาลเพื�อส่งเสริมความเป็นผู้เชี�ยวชาญ
                       มะเร็งเต้านมในระยะเริ�มแรก                เฉพาะทางด้านโรคมะเร็ง และบริการการตรวจวินิจฉัย

                                                                 และบําบัดรักษาแก่ผู้เจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง ในด้านการ
                                   ผลการศึกษา                    ป้ องกันและควบคุมมะเร็งเต้านม กระทรวงสาธารณสุข

                             ผลจากการเก็บรวบรวมข้อมูลทางสถิติโดย  โดยความร่วมมือกับมูลนิธิศูนย์ถันยรักษ์และสปสช.

                       สืบค้นจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที�เกี�ยวข้องกับ  ได้ดําเนินโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
                       ข้อมูลเชิงระบาดวิทยามะเร็งเต้านม สรุปว่า อุบัติการณ์  อย่างมีคุณภาพในสตรีอายุ 30-70 ปี ในผู้ที�พบความ

                       มะเร็งเต้านมพบสูงสุดของโรคมะเร็งทั�งหมดในสตรีไทย  ผิดปกติของเต้านมจะได้รับการส่งต่อตามระบบเพื�อ

                       ตั�งแต่ในปี ค.ศ. 2012 และยังคงสูงสุดต่อเนื�องจนถึงปี  ไปรับการตรวจเต้านมโดยแพทย์/บุคลากรสาธารณสุข
                       ค.ศ. 2025 อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งเต้านมเพิ�มขึ�นทุกปี  ผู้เชี�ยวชาญ และตรวจด้วยแมมโมแกรม (mammo-

                       คิดเป็นร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 7 ต่อปี ขึ�นอยู่กับแต่ละภาค  gram) มีการดูแลที�ต่อเนื�องเหมาะสม โดยคาดหวังจะ

                       ของประเทศ ผลการวิเคราะห์ด้านอุบัติการณ์การเกิด  พบมะเร็งเต้านมในขนาดก้อนที�เล็กลง และพบมะเร็ง
                       ความชุก อัตราการตาย อัตราการรอดชีพในช่วงเวลา  เต้านมในระยะเริ�มแรกสูงขึ�น ส่งผลต่อการลดอัตราตาย

                       5 ปี แนวโน้มอัตราการรอดชีพในระยะ 25 ปี อัตรา  จากมะเร็งเต้านมในที�สุด 15

                       การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยการตรวจเต้านมด้วย  อย่างไรก็ตาม ผลสรุปความคิดเห็นจากการ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15