Page 22 - E-Book รายงานสรุปผลการประชุม
P. 22

รายงานสรุปผล การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำาเสนอความก้าวหน้าด้านการคุ้มครองทางสังคม การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติ
              และกลยุทธ์ที่ดี เพื่อผลักดันให้มีการจัดสรรทรัพยากรด้านการเงินภายในประเทศด้านการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มมากขึ้น

                       การเลือกกิจกรรมเพื่อการวางแผนอนาคต

                       จากผลการประเมินความสำาเร็จของกิจกรรมข้างต้น สมาชิกกลุ่มมีความเห็นว่า กิจกรรมการคุ้มครอง

              ทางสังคมสำาหรับเด็กส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่มีความสำาคัญและเร่งด่วน สมาชิกในกลุ่มจึงให้คะแนนความสำาคัญ
              อันดับ ๑ ในหลายกิจกรรม แต่เมื่อพิจารณาภาพความสำาเร็จของการดำาเนินงานที่ผ่านมา พบว่า คะแนน
              ความสำาเร็จในกิจกรรม “การจัดการศึกษาสำาหรับเด็กที่ไม่มีสัญชาติ/เด็กชายขอบ/เด็กด้อยโอกาส/เด็กพิการ”

              ได้คะแนนน้อยที่สุด (๗ คะแนน) สะท้อนว่าเป็นภารกิจที่สำาคัญแต่แนวทางปฏิบัติในการคุ้มครองเด็กในกิจกรรม
              ดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร สมาชิกในกลุ่มจึงนำาประเด็น “การจัดการศึกษาสำาหรับเด็กที่ไม่มีสัญชาติ/

              เด็กชายขอบ/เด็กด้อยโอกาส/เด็กพิการ” มาวางแผนการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้นในอนาคต

              ขั้นตอนที่ ๓ การวางแผนสำาหรับอนาคต

              ชื่อกิจกรรมที่นำามาวางแผน : การจัดการศึกษาสำาหรับเด็กด้อยโอกาส




                              การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจัดการศึกษาสำาหรับเด็กด้อยโอกาส


                                      จุดอ่อน                                        จุดแข็ง

               ๑. ไม่มีงบประมาณอุดหนุนสำาหรับเด็กที่ไม่มีบัตรประชาชน/    ๑. มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ/

                 หลักฐานทางกฎหมาย และการไม่มีบัตร ส่งผลให้สถานศึกษา     กฎหมาย
                 ไม่สามารถออกใบรับรองวุฒิการศึกษาได้ จึงทำาให้เด็กไม่ได้รับ   ๒. การยกย่องจากประเทศอื่น ๆ
                 วุฒิทางการศึกษาเพื่อไปศึกษาต่อ/การทำางาน
                                                                     ๓. การดำาเนินการจัดตั้งกรม/เครือข่ายคนพิการ
               ๒. ขาดบุคลากร ครู อาจารย์: ขาดอัตราบุคลากรสำาหรับ ทำางาน   ที่ดูแลคนพิการโดยตรง
                 ในหน่วยงานที่ดูแลเด็กด้อยโอกาส
                                                                     ๔. มีหลักสูตรในการพัฒนาบุคลากร
               ๓. การสำารวจข้อมูลเด็กโอกาสไม่ทั่วถึง                    ด้านการศึกษา

               ๔. โรงเรียน/ศูนย์การศึกษาพิเศษยังไม่ทั่วถึง อาทิ โรงเรียนการศึกษา
                 เฉพาะ ซึ่งจะเปิดรับเด็กพิการ หรือกรณีพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่สามารถ

                 เข้าเรียนในโรงเรียนขั้นพื้นฐาน หรือ โรงเรียนพิเศษขั้นพื้นฐานได้

               ๕. ความไม่เข้าใจของผู้บริหารหรือหน่วยงาน ในการรับเด็กด้อยโอกาส
                 เข้าศึกษาต่อ

               ๖. ผู้ปกครองไม่รู้สิทธิของเด็กด้อยโอกาส





















             20
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27