Page 3 - ห้องเรียนเสมือนจริง
P. 3

4. เปาหมาย จุดเดน และขอกํากัดของหองเรียนเสมือน


                           เปาหมายของหองเรียนเสมือนเปนการเปดโอกาสใหบุคคลสามารถเขาถึงและไดรับการศึกษาหลัง

               มัธยมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ  เปาหมายเหลานี้สามารถเชื่อมโยงเขากับคํากลาวที่วา "ถาคุณไมไดเขาชั้นเรียน

               บางทีอาจจะทําใหคุณเรียนไดไมมาก"  นอกจากนั้นเปาหมายประการสําคัญ  ที่สอดคลองและเปนปจจัยของ
               หองเรียนเสมือนคือ การเรียนแบบรวมมือ (Collaborative learning)


                           เปาหมายพัฒนาโอกาสของการเขาถึงการศึกษาอาจจะพิจารณาแนวคิกวางๆที่เกี่ยวกับหองเรียน

               เสมือนในประเด็นตางๆตอไปนี้


                           1) ทําเลเปาหมาย  ผูเรียนอาจจะเลือกเรียนรายวิชาใดๆจากผูสอนคนใดคนหนึ่งทั่วโลกหากมีการเปด

               โอกาสใหลงทะเบียนเรียนไดโดยไมมีขีดจํากัดในเรื่องพื้นที่

                           2) เวลาที่ยืดหยุน  ผูเรียนอาจจะมีสวนรวมไดตลอดเวลาไมวาจะเปนกลางวันหรือกลางคืน  การ

               ไดรับขอมูลยอนกลับจากผูสอนและเพื่อนที่เรียนรวมกันจะไมมีขอจํากัดเรื่องเวลา


                           3) ไมมีการเดินทาง  ผูเรียนสมารถทํางานและศึกษาอยูกับบานไดอยางสะดวกสบายซึ่งอาจจะเปน

               ขอดีสําหรับผูเรียนที่มีอุปสรรค อันเนื่องมาจากความพิการทําใหไมมีความจําเปนตองเดินทางหรือแมแตผูเรียนที่มี

               ภาวะดานครอบครัว  ปจจัยประการนี้นับเปนโอกาสที่ทําใหทุกคนมีทางเลือกและความสะดวกสบาย


                           4) ประหยัดเวลา  ผูเรียนที่จําเปนตองเดินทางไปสถานศึกษาถาเรียนจากหองเรียนเสมือนจะ

               ประหยัดการเดินทาง

                           5) ทํางานรวมกัน  ดวยภาพทางเทคโนโลยี  ทําใหผูเรียนสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันได

               งายดาย  ในขณะที่การแลกเปลี่ยนขอมูลในหองเรียนปกติ  กระทําไดยาก  ผูเรียนในระบบหองเรียนเสมือนจะ

               สามารถอภิปรายปญหารวมกัน  แลกเปลี่ยนเคาโครงงานซึ่งกันและกันได


                           6) โอกาสการมีสวนรวม  ดวยระบบสื่อสารดวยคอมพิวเตอรเปนสื่อกลาง  สามารถเปดโอกาสให

               ผูเรียนทุกคนมีโอกาสเทาเทียมกัน  ในการถามคําถาม  การใหขอสังเกตและการทํากิจกรรมรวมกัน


                           นอกจากจุดเดนของหองเรียนเสมือนที่กลาวมาแลวนั้นในทางกลับกัน  ขอจํากัดของหองเรียนเสมือน
               อาทิเชน


                           1) แหลงเรียนมีจํากัด  ในปจจุบันยังมีสถาบันที่เสนอรายวิชาแบบหองเรียนเสมือนจํากัดมาก ทําให

               ยังมีขอจํากัดเกี่ยวกับแหลงที่จะเรียนในปจจุบัน


                           2) เครื่องมือที่จําเปน  ผูเรียนจะตองมีเครื่องไมโครคอมพิวเตอร  และโมเด็มที่บาน  หรือที่ทํางาน

               พรอมที่จะติดตอเชื่อมเขากับโปรแกรมหองเรียนเสมือน  ดังนั้น  การเรียนในระบบหองเรียนเสมือน   จึงดูคลายกับ
   1   2   3   4   5