Page 14 - ITA SHINBUN 3-2017
P. 14

Compliance ส าคัญไฉน?




                         ก่อนเราจะลองไปดูกันว่า Compliance นั้นส่งผลต่ออะไรบ้าง เรามาท า
             ความรู้จักค าว่า Compliance ในเชิงพฤติกรรมศาสตร์กันสักนิด ว่ามันหมายถึงอะไร

             มีความส าคัญอย่างไร  เข้าใจว่าหลายคนยังมีความเชื่อเกี่ยวกับนิยามของ Compliance
             ที่คลุมเครืออยู่

                         Organ and Konovsky (1989, อ้างใน สฎายุ ธีระวณิชตระกูล,

             2547) กล่าวว่า Compliance ไม่ใช่ตัวกฏระเบียบ ข้อบังคับ หรือการบังคับ แต่
             หมายถึง พฤติกรรมการยอมปฏิบัติตามของบุคคล อาทิ การยอมปฏิบัติตามกฏระเบียบ
             การยอมปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์การ เป็นต้น  พฤติกรรมการยอมปฏิบัติตาม

             (Compliance) ดังกล่าวถือเป็นหนึ่งในสองประเภทของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ

             องค์การ (Organizational Citizenship Behavior: OCB) ที่ประกอบด้วย
             1. พฤติกรรมการให้กการช่วยเหลือ (Altruism) และ 2. พฤติกรรมการยินยอมปฏิบัติ

             ตาม (Compliance)
                         พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีที่กล่าวมาข้างต้น หากน ามาจ าแนกจะสะท้อน

             ให้เห็นถึงพฤติกรรมย่อย 5 รูปแบบ ดังนี้
                         1. พฤติกรรมการให้ความช่วยเหลือ (Altruism)

                         2. พฤติกรรมความส านึกในหน้าที่ (Conscientiousness)

                         3. พฤติกรรมความอดทนอดกลั้น (Sportsmanship)
                         4. พฤติกรรมการค านึงถึงผู้อื่น (Courtesy)

                         5. พฤติกรรมการให้ความร่วมมือ (Civic Virtue)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19