Page 33 - 16_การรกษาความปลอดภย_Neat
P. 33

๒๖




                          ปจจัยหลักที่ตองยึดถือ เมื่อตองดําเนินการสํารวจเพื่อการรักษาความปลอดภัยสถานที่
              กอนวางแนวทางปองกันและปองปราม มีดังนี้

                          ñ. ÀѸÃÃÁªÒμÔËÃ×ÍÍØºÑμÔÀÑ·ÕèÍÒ¨à¡Ô´¢Öé¹  ใหพิจารณา
                             ๑.๑  โอกาสที่จะเกิดเพลิงไหม เนื่องจากมีที่ตั้งอยูในพื้นที่แหงแลงและบริเวณโดยรอบ

              มีเชื้อเพลิงธรรมชาติ เชน กอหญาแหง ไมไผ ซึ่งเปนเชื้อเพลิงที่ดี
                             ๑.๒  โอกาสที่จะเกิดการไหลบาของนํ้าปาหรือดินถลม เนื่องจากมีที่ตั้งใกลเนินเขา

              ภูเขา พื้นที่ดินรวนซุยเคยยุบตัว หรือชองทางที่เคยมีนํ้าไหลผาน
                             ๑.๓  ตั้งอยูในพื้นที่ที่เคยประสบปญหาอุทกภัย นํ้าทวมขังเปนประจํา หรือมีโอกาส

              ที่จะเกิดนํ้าทวมขัง เนื่องจากอยูใกลทางนํ้าไหลผาน เมื่อเกิดพายุฝนตกหนัก หรือเปนพื้นที่ลาดตํ่า
              หรือเปนแอง

                             ๑.๔  ตั้งอยูในพื้นที่ทางผานของลมพายุ หรือเคยเกิดเหตุฟาผา
                          ò. ÀÑ·Õèà¡Ô´¨Ò¡¡ÒáÃÐทําºØ¤¤Å

                             ๒.๑  กรณีที่เปนการสํารวจสถานที่ตั้งของหนวยงานของรัฐโดยทั่วไป ใหพิจารณา

                                   - สภาพโดยทั่วไปของบุคคลในหนวยงานของรัฐนั้น ไดแก ความมีระเบียบวินัย
              ความประมาทเลินเลอ ความบกพรอง หรือความรูเทาไมถึงการณ ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแก
              หนวยงานของรัฐนั้น

                                   - การโจรกรรม

                             ๒.๒  กรณีที่เปนการสํารวจหนวยงานของรัฐที่มีความสําคัญหรือมีบุคคลสําคัญมา
              เกี่ยวของ นอกจากตองพิจารณาตามขอ ๑ และ ๒.๑ แลว ยังตองเพิ่มขอพิจารณาดังนี้

                                   - สภาพความขัดแยงที่อาจเปนสาเหตุใหเกิดความตองการทําลาย
              ความนาเชื่อถือ ชื่อเสียงเกียรติภูมิ สรางความเสียหาย หรือทําลายลางหนวยงานของรัฐที่ตั้งอยูใน

              สถานที่นั้น
                                   - การชุมนุมประทวง เพื่อเรียกรองผลประโยชนหรือเพื่อกอกวน

                                   - การจารกรรม
                                   - การกอวินาศกรรม

                             ๒.๓  กรณีที่เปนการสํารวจหนวยงานของรัฐหรือภาคเอกชน ซึ่งหนวยงานของรัฐ
              มีภารกิจที่จะตองเขาใชพื้นที่เปนการชั่วคราว แตเปนภารกิจที่มีความสําคัญหรือมีบุคคลสําคัญมา

              เกี่ยวของ นอกจากตองพิจารณาตาม ขอ ๑ และขอ ๒ แลว ยังตองเพิ่มขอพิจารณา ดังนี้
                                   - ตองคํานึงถึงผลพวงอื่นๆ ที่อาจเกิดตอพื้นที่นั้น

                                   - ในกรณีที่เปนภาคเอกชน  ตองคํานึงถึงการสูญเสียผลประโยชนและ
              ผลกระทบทางธุรกิจในดานอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นขณะดําเนินกิจกรรมหรือในภายหลัง
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38