Page 7 - geographychalisa
P. 7

7


                      - ตัวอย่างค าถามภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เช่น  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะภูมิประเทศเด่น

                  อย่างไร

                        แนวการตอบ    เป็นภูเขายอดราบจ านวนมาก มีที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ คือ ที่ราบแอ่งโคราช

                      - ตัวอย่างค าถามภาคตะวันออก  เช่น  ภาคตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเด่นอย่างไร
                        แนวการตอบ    มีทิวเขาสันก าแพงอยู่ทางทิศเหนือของภาค มีที่ราบลุ่มแม่น ้าขนาดใหญ่ คือ

                                           ที่ราบลุ่มแม่น ้าบางปะกง มีป่าชายเลนจ านวนมาก

                      - ตัวอย่างค าถามภาคตะวันตก  เช่น  ภาคตะวันตกมีลักษณะภูมิประเทศเด่นอย่างไร
                        แนวการตอบ    มีทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี กั้นพรมแดนไทย-พม่า มีป่าไม้อุดมสมบูรณ์

                                           จึงมีน ้าตกสวยงามหลายแห่ง มีชายฝั่งทะเลที่สวยงามหลายแห่ง

                      - ตัวอย่างค าถามภาคใต้  เช่น  ภาคใต้มีลักษณะภูมิประเทศเด่นอย่างไร
                        แนวการตอบ    มีทิวเขาที่ส าคัญ คือ ทิวเขาภูเก็ต ทิวเขานครศรีธรรมราช ทิวเขาสันกะลาคีรี

                                           มีทะเลที่สวยงามทั้งสองฝั่ง คือ ฝั่งอันดามัน และฝั่งอ่าวไทย มีเกาะสวยงามมากมาย

                  4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระส าคัญของลักษณะภูมิประเทศส าคัญของไทย


                  ชั่วโมงที่ 3

                  1. ครูน าภาพสถานที่ท่องเที่ยวที่ส าคัญในเมืองไทย ที่เกิดจากลักษณะเด่นของภูมิประเทศ เช่น เกาะตะรุเตา

                  จังหวัดสตูล ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นต้น แล้วถามนักเรียนว่า รู้จักสถานที่เหล่านี้หรือไม่ สถานที่เหล่านี้

                  อยู่ในภาคใด มีลักษณะเด่นอย่างไร ครูอธิบายเชื่อมโยงถึงลักษณะภูมิประเทศของไทย
                  2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน คละกันตามความสามารถ มีทั้งเก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปาน

                  กลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน โดยครูจัดกลุ่มมาล่วงหน้า กลุ่มที่จัดตั้งนี้เรียกว่า กลุ่มบ้าน(Home Group)

                  สมาชิกแต่ละกลุ่มเลือกหมายเลขประจ าตัว 1, 2, 3, 4, 5 และ 6
                  3. สมาชิกกลุ่มบ้านแต่ละกลุ่มแยกย้ายไปหากลุ่มใหม่ คนที่มีหมายเลขเดียวกัน อยู่กลุ่มเดียวกัน เช่น

                  หมายเลข 1 ของแต่ละกลุ่ม มารวมกันเป็นกลุ่มใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group)

                  4. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญร่วมมือกันศึกษาความรู้เกี่ยวกับภาคทางภูมิศาสตร์ที่กลุ่มของตนรับผิดชอบ จาก
                  หนังสือเรียน

                  5. สมาชิกแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้จากหนังสือเรียน หรือจากหนังสืออ่านเพิ่มเติม หรือสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม

                  จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ


                  ชั่วโมงที่ 4-5

                  1. ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับ ผลการท างานของสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับมอบหมาย

                  2. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลับไปยังกลุ่มเดิม คือ กลุ่มบ้าน แต่ละคนถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ที่ได้ไป
                  ศึกษาค้นคว้ามาและจากการท าใบงานให้สมาชิกในกลุ่มได้รับความรู้ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12