Page 2 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 7
P. 2
2 ผลงานเดน DMS
สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย
นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการดานการแพทยและการสาธารณสุข AMCCH ครั้งที่ 4 ณ ประเทศญี่ปุน
สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข รวมประชุมและนำเสนอผลงานในการประชุม
วิชาการดานการแพทยและการสาธารณสุข Asian Medical Conference on Child Health [AMCCH 2018] ครั้งที่ 4
ณ ประเทศญี่ปุน โดย Shikoku Medical Center for Children and Adults ภายใตหัวขอ “Hope and Future for
Children and Mother in Asia-Preventive Medicine & New Trial” รวมเสนอแนวทางเวชกรรมปองกันและการศึกษา
ทดลองใหมๆ เพื่อสุขภาวะอนามัยแมและเด็ก ภูมิภาคเอเชีย
นายแพทย สมเกียรติ ลลิตวงศา ผูอำนวยการสถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย กลาววา สถาบันฯ ไดรวม
ลงนามความรวมมือทางวิชาการกับ Shikoku Medical Center ดำเนินการแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการและเผยแพรความรูทางการแพทยเด็ก
ในดานตาง ๆ โดยลาสุด สถาบันการแพทยของญี่ปุนดังกลาว ไดจัดงานประชุมวิชาการดานการแพทยและการสาธารณสุข AMCCH 2018 ครั้งที่ 4
ณ ประเทศญี่ปุน เพื่อตอบสนองตอนโยบายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) พรอมทั้งนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ
การดูแลปญหาสุขภาพของประเทศตางๆ ในภูมิภาคอาเซียน และรวมแบงปนประสบการณการดูแลรักษาผูปวย และการจัดการกับปญหาสุขภาพ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับระบบการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตแมและเด็ก สูอนาคตของประชาคมอาเซียนโดยรวม
ทั้งนี้ แพทยหญิงพนิดา ศรีสันต นายแพทยเชี่ยวชาญ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย ไดบรรยาย เรื่อง
“ผลการสองกลองหลอดลมในเด็กอายุนอยกวา 2 ป ที่หายใจเสียงดังชนิด stridor” โดยกลาวถึงปญหา Persistent Stridor ในเด็กเล็ก
ซึ่งเปนปญหาที่สำคัญผูปวยสวนใหญจะมีอาการตั้งแตอายุ 1 เดือนแรก อาจเกิดจากพยาธิสภาพของทางเดินหายใจ ตั้งแตบริเวณเหนือกลองเสียง
กลองเสียง และหลอดลมคอ โดยสาเหตุที่พบบอยที่สุด คือ ภาวะกลองเสียงออน การวินิจฉัยที่สำคัญ คือ การสองกลองหลอดลม ซึ่งตองทำโดย
กุมารแพทยโรคระบบหายใจ หรือโสตศอนาสิกแพทย รวมกับทีมวิสัญญีแพทยที่มีความเชี่ยวชาญ การรักษาขึ้นกับสาเหตุและความรุนแรงของโรค
มีทั้งการผาตัด เลเซอร หรือการรักษาดวยยา การศึกษาในสถาบันสุขภาพเด็กฯ ยอนหลังเปนเวลา 8 ป พบผูปวย 123 ราย ผลการรักษา
สวนใหญดีขึ้นเอง มีเพียงรอยละ 7 ที่ตองไดรับการใสทอหลอดลมคอ
แพทยหญิงทัศลาภา แดงสุวรรณ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย บรรยาย เรื่อง “โรคขออักเสบเรื้อรัง
ไมทราบสาเหตุชนิดมีไข” เนื้อหาการบรรยายอธิบายถึง โรคขออักเสบเรื้อรังในเด็กเปนโรคที่เกิดจากภูมิตานตนเองในเด็กอายุไมเกิน 16 ป
ทำใหเกิดการอักเสบบริเวณขอและสวนอื่นๆ ของรางกาย ความรุนแรงขึ้นกับชนิดของโรคแตกลุมที่มีอาการรุนแรงที่สุด นอกจากจะมี
ขออักเสบแลวผูปวยมักจะมีไขสูงและมีการอักเสบในหลายระบบ อาทิ มีผื่นที่ผิวหนัง มีภาวะเยื่อหุมหัวใจหรือเยื่อหุมปอดอักเสบ ตอมน้ำเหลืองโต
และตับมามโต ผูปวยจะทรมานจากขอพิการหรือเสียชีวิตจากโรคแทรกซอน โรคขออักเสบเรื้อรังจะมีความชุกประมาณ 1 ตอ 1,000 ราย
การเกิดขออักเสบเรื้อรังชนิดมีไขในเด็กไทยจะสามารถพบไดทุกชวงอายุตั้งแต 1-14 ป แตอายุที่เกิดอาการบอยที่สุดและรุนแรงมากที่สุดคือ
ชวงอายุกอนวัยเรียน ในปจจุบันยังไมสามารถระบุสาเหตุของการเกิดโรคที่แนชัด ดังนั้น การรักษาดวยยากดภูมิและการดูแลอยางใกลชิด
จากแพทย จึงเปนหัวใจของการรักษาโรคนี้ เพื่อปองกันโรคแทรกซอนและลดอัตราการเสียชีวิต ในปจจุบันแพทยที่สามารถดูแลรักษาโรคนี้ได
ยังมีจำนวนจำกัด แตทางสถาบันสุขภาพเด็กฯ มีความพรอมและมีกุมารแพทยที่มีความเชี่ยวชาญ โดยเฉพาะสามารถตรวจรักษาโรคกลุมนี้
และโรคภูมิตานตนเองในเด็กไดเปนอยางดี
นางทรงศิริ นิลจุลกะ หัวหนางานการพยาบาลกุมารเวชศาสตรครอบครัว สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี รวมนำเสนอผลงาน
หัวขอ “Journey of the Home in Hospital” โดยกลาวถึง บานพักพิงครอบครัวผูปวยเด็กในโรงพยาบาล ซึ่งใชกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
QCC ในการบริหารจัดการและพัฒนางาน จนไดรับรางวัล IQPC 2017 ระดับ Platinum
สารกรมการแพทยารกรมการแพทย
ส ปที่ 1 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2561