Page 3 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 7
P. 3

ขาว Hot ประเด็นรอน   3


                                                                                   แพทยชี้






                                                              “ใชน้ำมนตรักษาโรคผิวหนัง



                                                                                        เสี่ยงติดเชื้อ”




            สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย  ชี้ “ใชน้ำมนตรักษาโรคผิวหนัง เสี่ยงติดเชื้อ” ทำใหการรักษามีความยุงยากซับซอนมากขึ้น

        และอาจมีอันตรายถึงชีวิตได



















             นายแพทยณรงค อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย          แพทยหญิงมิ่งขวัญ  วิชัยดิษฐ ผูอำนวยการสถาบัน

        และโฆษกกรมการแพทย กลาววา ขณะนี้มีการแชรขอความ     โรคผิวหนัง กรมการแพทย กลาวเพิ่มเติมวา ปกติผิวหนัง

        ผานสื่อเรื่องการใชน้ำมนตรักษาผูปวยโรคผิวหนังอยางตอเนื่อง  ของมนุษยสามารถปองกันเชื้อโรคเขาสูทางผิวหนังไดเปนอยางดี

        กรมการแพทยจึงขอใหขอมูลแกประชาชนเพื่อปองกัน        แตเมื่อรางกายไดรับบาดเจ็บจนผิวหนังเกิดรอยปริแยกขึ้น
        ความเชื่อที่วาการใชน้ำมนตสามารถรักษาโรคผิวหนังใหหายได  ไมวาจากการเกา การกระทบกระทั่งจนเกิดรอยถลอก หรือ

        เนื่องจากขอมูลทางการแพทยระบุวาการรักษาโรคผิวหนัง    น้ำรอนลวกเปนแผลพุพอง การปองกันเชื้อโรคเขาสูรางกาย

        ตองมีความระมัดระวังเนื่องจากเมื่อผิวหนังเกิดโรคตาง ๆ ขึ้น  บริเวณนั้นจะสูญเสียไป ดังนั้น การใชน้ำมนตเปาไปยังจุดที่
        เชน งูสวัด แผลน้ำรอนลวก หรือการอักเสบอื่น ๆ ผิวหนัง  เปนโรคงูสวัด และแผลน้ำรอนลวกจึงมีโอกาสติดเชื้อโรคเพิ่มเติมสูง

        บริเวณนั้น ๆ มักมีการปริแยก ซึ่งเปนชองทางที่เชื้อโรคจะเขาสู  โรคงูสวัด เปนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ผูปวยมักจะเปนในชวงที่

        รางกายไดโดยงาย การใชยาเพื่อการรักษายังตองมีการฆาเชื้อ  รางกายออนแอ ภูมิคุมกันโรคลดลง ความเสี่ยงในการติดเชื้ออื่น
        และการจัดเก็บแบบปลอดเชื้ออยางดีกอนนำมาใช เพื่อปองกัน  เพิ่มเติมจึงมีไดงาย เชนเดียวกับแผลจากน้ำรอนลวก ผิวหนัง

        การติดเชื้อซ้ำเติม ดังนั้น การใชน้ำมนต ซึ่งไมมีการดูแลเรื่อง  มีอาการบาดเจ็บเปนแผล การใชสิ่งที่ไมสะอาดสัมผัสแผลโดยตรง
        ความสะอาด และใชปากอมพนใสตรงจุดที่มีรอยปริแยกของ     อาจจะทำใหเกิดการติดเชื้อซ้ำ จนเขาสูกระแสโลหิตเกิดผลขางเคียง

        ผิวหนัง จึงเปนความเสี่ยงในการติดเชื้อเพิ่มเติม        รายแรงตอระบบอื่น ๆ ของรางกาย จึงขอแนะนำวาการรักษา

                                                               โรคทางดานผิวหนัง ควรปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
                                                               เพื่อใหแพทยตรวจรักษาตามแนวทางและขั้นตอนที่ถูกตอง

                                                               เหมาะสมกับผูปวยแตละราย เพื่อใหผิวหนังของผูปวยกลับสู
                                                               สภาวะปกติโดยเร็วที่สุด



 สารกรมการแพทย                                                              ปที่ 1 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8