Page 4 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 7
P. 4

4     อโรคยา





         แนะโรคหอบหืด


         หากไมไดรับการรักษาอยางถูกตองเสี่ยงตอการเสียชีวิต





              สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย แนะแนวทางการรักษาและปองกันโรคหอบหืด เพื่อควบคุมอาการใหสงบ

         ยกระดับสมรรถภาพการทำงานปอด ปองกันหรือลดการเสียชีวิต





                                      นายแพทยณัฐพงศ  วงศวิวัฒน
                                      รองอธิบดีกรมการแพทย




                                           เปดเผยวา โรคหอบหืด เปนการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ซึ่งเกิดจากปจจัยทางพันธุกรรม

                                      และปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่ทำใหหลอดลมของผูปวยมีปฏิกิริยาตอบสนองตอสารกอภูมิแพและ
                                      สิ่งแวดลอมมากกวาคนปกติ สงผลใหผูปวยเกิดอาการไอ และหายใจไมสะดวกจากการที่หลอดลมตีบ

                                      และอักเสบ สารเหลานี้จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น หลังจากผูปวยสัมผัสกับสารกอภูมิแพ จึงทำใหผูปวย
                                      เกิดอาการหอบหืดมากขึ้น ในรายที่ไมไดรับการรักษาอยางถูกตอง การอักเสบเรื้อรังของหลอดลม

          อาจนำไปสูการเกิดพังผืดและการหนาตัวอยางมาก ทำใหมีการอุดกั้นของหลอดลมอยางถาวรได ผูปวยโรคหอบหืดมักจะมีอาการ
          เหนื่อยหอบเวลาออกแรง ไอ เสมหะเหนียวขน หายใจลำบาก แนนหนาอก และมีเสียงหายใจดังวี๊ด ๆ หรือมีอาการในชวงเวลากลางคืน

          และมีคาความเร็วของลมหายใจออกสูงสุด อยูระหวาง 50 - 80% ของคาที่ดีที่สุด







                                                   แพทยหญิงวิพรรณ  สังคหะพงศ
                                      ผูอำนวยการสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย




                กลาววา การรักษาโรคหอบหืดสามารถทำไดดังนี้ 1. การปองกันไมใหเกิดสารกระตุน
           คือ ผูปวยควรหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งตาง ๆ ที่อาจทำใหเกิดปฏิกิริยาภูมิแพหรือกระตุน

           อาการหอบหืดใหเกิดขึ้น อาทิ ไรฝุน แมลงสาบ สัตวเลี้ยง สปอรเชื้อรา เกสร วัชพืช น้ำหอม
           สารเคมี  ควันจากทอไอเสีย อากาศที่รอนจัด/เย็นจัด เปนตน 2. การใชยารักษาชนิดสูด

           รวมกับยาขยายหลอดลม ขึ้นอยูกับความรุนแรงของอาการ และควรใชยาอยางสม่ำเสมอ ตามคำแนะนำของแพทยอยางถูกตอง

           3. ถาโรคหอบหืดมีอาการรุนแรงและเปนบอย ควรใชเครื่องวัดการทำงานของปอดเปนประจำ เพื่อชวยตัดสินใจปรับการรักษา
           ไดรวดเร็วและแกปญหาโรคหอบหืดกำเริบเฉียบพลัน หากสังเกตและพบวาตนเองมีอาการดังกลาวขางตน ควรรีบพบแพทย

           เพื่อรับการรักษาอยางทันทวงที หรือถาเปนผูปวยโรคหอบหืดอยูแลว ควรปฏิบัติตนตามคำแนะนำตาง ๆ อยางเครงครัด
           เพื่อควบคุมอาการของโรคใหสงบลง ยกระดับสมรรถภาพการทำงานปอดจากโรคที่เปนอยู ปองกันหรือลดการเสียชีวิต

           จากโรคหอบหืด สงผลใหมีสุขภาพแข็งแรง


         สารกรมการแพทย  ปที่ 1 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2561
   1   2   3   4   5   6   7   8