Page 21 - 1.คมอการปฎบตการสอนในสถานศกษา_Neat
P. 21

งานพัฒนาดังกล่าว จะสามารถท าได้มากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับสภาพของโรงเรียน หากเป็นโรงเรียนที่

               มีความพร้อมอยู่แล้วงานพัฒนาก็อาจมีน้อย ถ้าเป็นโรงเรียนในชนบท งานที่จะท าและโอกาสที่จะพัฒนาก็มีมากขึ้น
               ดังนั้น นักศึกษาจึงต้องคิดและจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของนักเรียน โรงเรียน และชุมชนรอบข้าง



               ขั้นตอนการด าเนินโครงการ
                       1. นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในแต่ละโรงเรียนจะต้องจัดท าโครงการด้านวิชาการเพื่อพัฒนา

               โรงเรียน 1 โครงการ ต่อ  1  โรงเรียน โดยเลือกโครงการที่เหมาะสมกับจ านวนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
               ที่ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนนั้น ๆ  ตามความเหมาะสมและความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาโครงการ

                       2. เสนอโครงการตามแบบฟอร์มที่ก าหนดให้ และด าเนินการอนุมัติโครงการตามขั้นตอน

                       3. เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ และได้รับการอนุญาตจากผู้อ านวยการโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
               อนุมัติ จึงจะด าเนินโครงการได้ โดยนักศึกษาจะต้องด าเนินการตามแนวทางดังนี้

                              3.1 ให้หัวหน้านักศึกษาเตรียมประชุม วางแผนการด าเนินโครงการ และแบ่งหน้าที่ให้กับ
               นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียน

                              3.2 ด าเนินโครงการให้เป็นไปตามก าหนดเวลาที่วางแผนไว้ และเป็นไปตามระบบและระเบียบที่

               ก าหนดไว้
                              3.3 ในขณะที่ด าเนินโครงการ จะต้องเก็บรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงการให้ครบถ้วน

               เพื่อเป็นข้อมูลในการสรุปผลโครงการ
      การท าโครงการด้านวิชาการเพื่อพัฒนาโรงเรียน
                              3.4 หลังจากด าเนินโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องจัดท ารายงานโครงการตามแบบฟอร์มที่
               ก าหนดให้

                       4. จัดท ารายงานผลโครงการเป็นรูปเล่มสมบูรณ์ จ านวน 2 เล่ม โดยแบ่งออกเป็น
                              4.1  เล่มที่  1  เล่มต้นฉบับ  ให้น าส่งโรงเรียนเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

               ภาคการศึกษาที่ 1 เพื่อเป็นหลักฐานและผลงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในรุ่นนั้น ๆ

                              4.2 เล่มที่ 2 เล่มถ่ายส าเนา ให้น าส่งที่ฝุายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในกิจกรรมสัมมนา
               หลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ภาคการศึกษาที่ 1 หรือวันที่ฝุายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้ก าหนดไว้

                       โครงการด้านวิชาการเพื่อพัฒนาโรงเรียนนอกจากจะเป็นประโยชน์ส าหรับนักศึกษาแล้ว ยังเป็นประโยชน์
               ต่อนักเรียน โรงเรียน และฝุายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในการปรับปรุงและพัฒนางานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

               ดังนั้น ในการจัดโครงการของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน จะช่วยให้

               ทราบถึงบริบท และความแนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของโรงเรียนได้ด้วยเช่นกัน







                 17      ฝุายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
                      คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26