Page 36 - group5sec2000153
P. 36

30







                                                             บทที่ 6

                                            สรุปผลและข้อเสนอแนะในกำรด ำเนินโครงงำน

                       6.1 สรุปผลกำรด ำเนินงำน

                              จากการท าโครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควาย ผู้ศึกษาได้เรียนรู้และมีความ
                       เข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงความเป็นมาของภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควาย นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้
                       กระบวนการผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการเก็บข้อมูลและสามารถสรุปผล

                       การศึกษาโดยแบ่งเป็นประเด็นได้ดังนี้
                              1. ที่มาและข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาการย้อมผ้าจากมูลควาย
                              2. ข้อมูลวิธีการย้อมผ้า
                              3. ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

                       1. ที่มำและข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญำกำรย้อมผ้ำจำกมูลควำย
                              ชุมชนบ้านนาเชือกเน้นการท าเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยมีการใช้ควายในการไถนา และมีการ
                       เลี้ยงควายเป็นจ านวนมาก พระอาจารย์ฉัฐกรณ์ มหาปุญโญจึงได้แนะน าให้ชาวบ้านน า

                       ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มากในหมู่บ้าน น ามาพัฒนาให้กลายเป็นผลผลิตมีราคา ซึ่งก็คือมูลควาย
                       แรกเริ่มนั้นสมาชิกภายในกลุ่มมี 12 คน แต่เมื่อผลิตภัณฑ์เริ่มมีชื่อเสียงและสามารถสร้างรายได้ให้แก่
                       ชาวบ้าน ก็เริ่มมีผู้ให้ความสนใจมากขึ้น แต่การรับสมัครสมาชิกนั้น โดยส่วนใหญ่จะเลือกจากผู้ที่อาศัย
                       ในชุมชนบ้านนาเชือก หากหมู่บ้านอื่นมีความสนใจที่อยากจะท างานร่วมกัน ก็จะมีการแจกจ่ายงานให้
                       อย่างทั่วถึง

                              ผลิตภัณฑ์ของบ้านนาเชือกนั้น มีการน าเอามูลควายมาย้อมกับผ้าฝ้าย โดยมูลที่ได้จากควาย
                       นั้นมาจากควายที่สมาชิกภายในกลุ่มเลี้ยง โดยการเก็บมูลควายนั้น ทางประธานกลุ่มทอผ้าย้อมสีผ้า
                       จากมูลควายจะสั่งให้สมาชิกภายในกลุ่มน ามูลควายมาเตรียมตามจ านวนถังที่ต้องการ โดยมีการผลัด

                       เวียนกันแต่ละครัวเรือน สีได้ที่จากมูลควายมาจากหญ้าที่ควายกิน โดยมูลควายแต่ละครั้งจะมีสีที่
                       แตกต่างกัน เนื่องจากความแตกต่างของความเข้มของหญ้า สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของบ้านนาเชือกนั้น
                       ไม่เพียงแค่การย้อมสีผ้าจากมูลควายเท่านั้น แต่ยังมีการใช้สีธรรมชาติโดยไม่มีสารเคมีเจือปน และยัง
                       ได้รับรองมาตรฐานความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย จากนั้นจึงท าการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ

                       เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้ามากขึ้น สมาชิกในกลุ่มทอผ้าย้อมสีผ้าจากมูลควายได้ท าการทดลองถึง 2 ปี
                       เพื่อกระบวนการผลิตที่สม่ าเสมอและเพื่อประสิทธิภาพ คุณภาพที่ดีที่สุด
                       2. ข้อมูลวิธีกำรย้อมผ้ำและกระบวนกำรผลิต
                              ก่อนที่จะผลิตนั้น ทางสมาชิกจะท าการเลือกฝ้ายที่ใช้ในการผลิต ฝ้ายที่ใช้จะมีทั้งผู้คนใน

                       ชุมชนปลูกเองและซื้อจากโรงงาน โดยการคัดเลือกฝ้ายนั้นจะมีการคัดเลือกจากฝ้ายที่ไม่มีเศษวัสดุเจือ
                       ปน ฝ้ายที่รับซื้อจากโรงงานจะมีความละเอียดกว่า ซึ่งในการผลิตก็สามารถใช้ได้ทั้งสองแบบ จากนั้น
                       จึงจะเริ่มการผลิตโดยหมักขี้ควายในบ่อ 2-3 วัน และกรองเอาเฉพาะน้ าสี กากใยที่เหลือน าไปท าเป็น
                       ปุ๋ยหมัก ส่วนน้ าสีขี้ควายจะน าไปกรองแล้วต้มให้เดือดจนขึ้นฟอง จากนั้นจึงจะน าเส้นฝ้าย 10

                       กิโลกรัมลงไปต้ม การต้มจะใช้เวลา 30 นาทีโดยประมาณ ระหว่างที่ต้มก็มีการพลิกกลับเส้นด้าย
                       เพื่อให้ได้สีที่สม่ าเสมอ เมื่อต้มเสร็จก็น าฝ้ายที่ย้อมไปซักล้างให้สะอาด และดับกลิ่นด้วยการต้มจุ่มน้ า
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41