Page 34 - group5sec2000153
P. 34

28







                                                             บทที่ 5

                                                   อภิปรำยผลกำรด ำเนินโครงงำน

                       5.1 อภิปรำยผลร่วมกับวัตถุประสงค์

                              จากการท าโครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควาย โดยการลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์
                       ข้อมูลกระบวนการย้อมสีผ้าจากมูลควาย ท าให้คณะผู้จัดท านั้นได้ทราบรายละเอียดและข้อมูลความรู้
                       ที่เป็นปัจจุบันมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากผลการสัมภาษณ์ นางสายสุนีย์ ไชยหงสา ประธานกลุ่มทอผ้า

                       ย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเชือก (มูลควาย) ที่ให้ข้อมูลอย่างชัดเจนและน่าเชื่อถือ ซึ่งมีความแตกต่างจาก
                       ข้อมูลเดิมที่ทางคณะผู้จัดท าได้ค้นหาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออินเทอร์เน็ต ดังนี้
                                     ขั้นตอนกระบวนการหมักมูลควาย จะใช้แค่มูลควายกับน้ าเท่านั้น ขั้นตอนการเตรียมย้อม
                       จะกรองเอาเฉพาะน้ า ที่หมักแล้วมาใช้ย้อม ส่วนที่เป็นกากใยจะไม่มีการน ามาใช้ การใส่สมุนไพรดับ
                       กลิ่นจะมีต้นอ้ม คือ พืชหอมชนิดหนึ่ง โดยการน าส่วนใบมาใช้ร่วมกันกับข่าและตะไคร้ ซึ่งในข้อมูลที่

                       หามาจากสื่อต่างๆไม่ได้ระบุไว้ ส่วนดินหรือโคลนนั้นจะเป็นวัตถุดิบที่ใช้ย้อมผ้าเช่นซึ่งให้สีต่างกันจาก
                       มูลควาย แต่ไม่มีน ามาเป็นวัตถุดิบในการหมักมูลควาย กระบวบการย้อม เมื่อย้อมเสร็จจะน าฝ้ายไป
                       ซักล้างให้เศษมูลควายหลุดออก แต่ไม่มีการน าไปต้มน้ าสมุนไพรซ้ า รอบที่สองตามที่ข้อมูลในสื่อ

                       อินเทอร์เน็ตได้กล่าวไว้
                                     สิ่งที่ได้จากการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้โครงงานเป็นฐานครั้งนี้ คณะผู้จัดท า
                       โครงงานได้มีความรู้ในส่วนของกระบวนการย้อมสีผ้าจากมูลควาย เช่น การเตรียมฝ้าย การย้อม และ
                       การทอผ้า เป็นต้น และได้ความรู้ในเรื่องของการออกแบบและประยุกต์ดัดแปลงผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น

                       ที่ส าคัญวิทยากรที่คอยให้ค าแนะน านั้นให้ความเป็นกันเองและใจดี ท าให้การร่วมงานไม่มีความกดดัน
                       แต่อย่างใด นับว่าการจัดท าโครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาการย้อมสีผ้าจากมูลควาย ที่เป็นส่วนหนึ่งของ
                       รายวิชาภูมิปัญญาท้องถิ่น ท าให้คณะผู้จัดท าโครงงานประสบความส าเร็จในระดับหนึ่ง ถึงแม้ว่า
                       โครงงานจะเสร็จสิ้นลง แต่คณะผู้จัดท ายังต้องศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อท าให้ตนเองนั้นมี

                       ความรู้ที่เพิ่มพูนขึ้น และสามารถสร้างสรรค์วีดีทัศน์เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาดังกล่าวสู่สาธารณะได้

                       5.2 อภิปรำยผลร่วมกับแนวคิดและทฤษฎี


                                     ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ปฏิบัตินิยมเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับชีวิต ความคิด
                       เป็นเครื่องมือของการกระท า ความคิดที่เอาไปใช้ไม่ได้ก็เป็นสิ่งไร้ความหมายการรู้ การจ า และจิตนา

                       การก็คือ การปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมของสิ่งที่มีชีวิตนั้นเองความคิดมิใช่เป็นเพียงสิ่งที่มีใน
                       จิต หรือเป็นเพียงการถ่ายแบบความจริงเท่านั้น แต่เป็นสิ่งที่มีพัฒนาการไปตามพัฒนาการของชีวิต
                       และเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความเกี่ยวข้องกันของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม


                                     ในวิชา 000153 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ศึกษาได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาต่าง ๆ
                       เพื่อต่อยอดในการท าโครงงาน และได้มีการจัดท าโครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควาย

                       ขึ้นมา โดยมีการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ทุกขั้นกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดปฏิบัตินิยม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39