Page 51 - ED211
P. 51
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สอง จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
1. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง พ.ศ.2504–2506–2509 ระยะที่สอง (พ.ศ.2507–2509)
การให้การศึกษาเบื้องต้นแก่ประชาชนนับเป็น เป้าหมาย 1. เร่งปรับปรุงการศึกษาภาคบังคับตอนต้น (ป.1–ป.4) ให้ได้ผลทั่วถึง ให้
ความจ าเป็นอันดับแรกในการพัฒนาการศึกษา 1. ให้เยาวชนในวัยการศึกษาภาคบังคับได้มีที่เรียน ประชาชนในวัยการศึกษาภาคบังคับสามารถอ่านออกเขียนได้โดยแท้จริง
ขณะเดียวกันก็จ าเป็นต้องจัดแนวการศึกษาให้ โดยทั่วถึงและมีมาตรฐานการศึกษาภาคบังคับ 2. ปรับปรุงการผลิตนักเรียนระดับต่าง ๆ และนักศึกษาให้มีปริมาณและแขนง
สอดคล้องกับความต้องการของประเทศในด้าน สูงขึ้น การศึกษาสัมพันธ์กับความต้องการในด้านก าลังคนของประเทศ
ก าลังคนที่จะใช้ในทางเศรษฐกิจของประเทศไทยใน 2. ขยายการศึกษา ป.5 ถึง ป.7 รับนักเรียน
3. ช่วยปรับปรุงและส่งเสริมคุณภาพของโรงเรียนราษฎร์
ระยะ 15 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2509-2524) โดย ประมาณปีละ 150,000–200,000 คน
1. จะเน้นหนักด้านความต้องการนักเรียนที่ส าเร็จ 3. เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในอ าเภอขนาด 4. ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ขั้นมัธยมศึกษาโดยเฉพาะอาชีวศึกษา ซึ่งจ าเป็น ใหญ่ และโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายใน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ให้ได้มาตรฐานสูงกว่าในปัจจุบัน
จะต้องปรับปรุงทั้งคุณภาพและปริมาณ จังหวัดต่าง ๆ ทั่วพระราชอาณาจักร 5. ก าหนดล าดับความส าคัญของโครงการพัฒนาการศึกษา โดยเน้นการผลิต
2. ส าหรับการศึกษาขั้นอุดมศึกษา เน้นหนักด้าน 4. ส่งเสริมการอาชีวศึกษาเป็นพิเศษ โดยปรับปรุง ก าลังคนในระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย
การผ ลิ ต นั กศึ กษ าใน แ ข น งวิศ วกรรม วิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัยเกษตรกรรม ให้มี
6. ก าหนดจะท ารายละเอียดโครงการที่มีความส าคัญต่อการพัฒนาการ
วิทยาศาสตร์ และวิชาชีพส าคัญ ๆ แขนงต่าง ๆ คุณภาพได้มาตรฐาน และจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู เศรษฐกิจ โดยจัดสรรเงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เป็นจ านวนมากขึ้น อาชีวศึกษาขึ้น
และเงินสมทบอื่น ๆ
นโยบายของการพัฒนาการศึกษาจ าแนกออกเป็น 5. ผลิตครูปีละไม่น้อยกว่า 7,500 คน
หลักใหญ่ ๆ 4 ประการ 6. จัดตั้งมหาวิทยาลัยประจ าส่วนภูมิภาคขึ้นและ
1. เพื่อให้เยาวชนของชาติได้รับการศึกษาโดยทั่วถึง ส่งเสริมการผลิตนักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรม-
กัน และให้มีมาตรฐานการศึกษาสูงขึ้นโดยรัฐจะ ศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเกษตรศาสตร์เป็น
พยายามปรับปรุงและขยายการศึกษาชั้นประถม พิเศษ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 43