Page 56 - ED211
P. 56

ตารางที่ 3  แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ

 สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)

 นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ   วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด   แนวทาง/มาตรการ
 สังคมของประเทศ    ปริมาณในระดับต่าง ๆ ส าหรับระดับอุดมศึกษา   ต้องการก าลังคนระดับกลาง
 นโยบายส่วนรวมในการพัฒนาการศึกษามีดังนี้   มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เป็นการ 3.  จัดระบบมัธยมศึกษาให้สนองความต้องการด้านอาชีพ เพื่อให้พอเพียงกับ

 1.  จัดการศึกษาให้สัมพันธ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจ  ขยายงานให้รับกับความต้องการก าลังคน  การขยายตัวในด้านเศรษฐกิจและด้านอื่น ๆ ของประเทศ
 และสังคมของประเทศไทย โดยค านึงถึงความ  ระดับกลางและระดับสูงซึ่งมีความขาดแคลน 4.  ขยายงานด้านฝึกหัดครูให้สามารถผลิตครูได้ตามความต้องการของ
 ต้องการในด้านต่าง ๆ ของประเทศ โดยเฉพาะ  โดยทั่วไป    การศึกษาระดับต่าง ๆ ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

 อย่างยิ่งความต้องการด้านก าลังคน ตลอดจน 2.  ในระยะของแผนคาดว่าจะผลิตครูได้ทั้งสิ้น 5.  ขยายการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเน้นในสาขาวิชาต่าง ๆ ลดหลั่นไป
 ความรู้และเทคนิคในการพัฒนาสาขาต่าง ๆ       ประมาณ 49,770 คน เป็นครูประกาศนียบัตร  ตามความจ าเป็นทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความต้องการ
 2.  จัดและขยายการศึกษาให้สอดคล้องกับภาวะ  การศึกษาชั้นต้น 31,950 คน ครูประกาศนียบัตร  ก าลังคนระดับสูงในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่จัดว่าส าคัญ รัฐจะสนับสนุนในการ

 ผูกพันที่มีอยู่ในสังคม รัฐจะให้ความส าคัญใน  ขั้นสูง 9,450 คน ครู ป.ม. อาชีวศึกษา 1,320   ยกระดับมาตรฐานการอุดมศึกษา ส่งเสริมให้มีการวิจัยและสนับสนุนให้
 เรื่องการจัดการศึกษาภาคบังคับเป็นอันดับแรก   คน และครูปริญญา 7,050 คน   มหาวิทยาลัยได้มีโอกาสให้บริการทางวิชาการแก่สังคมมากขึ้น
 และจะได้เน้นหนักในการผลิตก าลังคน  6.  จัดการศึกษาผู้ใหญ่โดยมุ่งหมายให้เป็นการศึกษาที่ต่อเนื่องกับการศึกษา

 ระดับกลาง ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อ  ภาคบังคับในโรงเรียน และมุ่งหมายให้มีความรู้ทั้งด้านหนังสือควบคู่ไปกับ
 สนองความต้องการทางเศรษฐกิจ ส่วนก าลังคน  วิชาชีพ
 ในระดับสูงนั้น จะเพ่งเล็งเฉพาะสาขาที่ประเทศมี  7.  แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในเรื่องโรงเรียนราษฎร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน

 ความต้องการมาก   คุณภาพ
 3.  ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาและแก้ไขปัญหาที่มี  8.  จัดการศึกษาทุกระดับที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการต่าง ๆ ให้
 อยู่ด้วยมาตรการอันเหมาะสม    ประสานสัมพันธ์กันและสอดคล้องกับนโยบายส่วนรวม

 4.  ส่งเสริมการศึกษาในโรงเรียนราษฎร์ โดยเฉพาะ  9.  ความร่วมมือกับท้องถิ่นเพื่อให้ท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมมากขึ้นในการสนับสนุน
 อย่างยิ่งในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา                                                  การศึกษาในท้องถิ่นของตน





                    เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 45
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61