Page 60 - ED211
P. 60

ตารางที่ 3  แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ

 สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)

 นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ   วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด   แนวทาง/มาตรการ
 บังคับ ประถมต้นและประถมปลาย ให้สอดคล้อง  การศึกษาทุกระดับ   ระดับมัธยมศึกษาสายอาชีพ
 กับการเพิ่มจ านวนประชากรวัยเรียน และเน้น 5.  ขยายการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษานอก 1.  ปรับปรุงและขยายโรงเรียนมัธยมศึกษาอาชีวศึกษาตอนปลายเพื่อสนอง

 หลักการขยายการศึกษาระดับมัธยมและ  โรงเรียนให้ผู้ที่ขาดพ้นการศึกษาได้มีโอกาสรับ  ความต้องการก าลังคนในระดับกลางของประเทศและเน้นการศึกษาสาขา
 อุดมศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ  การศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น โดยเฉพาะการฝึกฝน  เกษตรกรรมเป็นพิเศษ
 ก าลังคนระดับกลาง และระดับสูง   ในด้านเกษตรกรรม   2.  ลดการอาชีวศึกษาระดับมัธยมต้น โดยจัดโครงการให้สอดคล้องกับระดับ

 5.  เร่งการผลิตครูให้เพียงพอกับความต้องการ และ    มัธยมศึกษาตอนต้นสายสามัญ
 ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู โดยเฉพาะ  3.  หาทางสนับสนุนอาชีพครูอาชีวะและส่งเสริมสวัสดิการของครูอาชีวศึกษา
 อย่างยิ่งครูในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นกันดาร   บางประเภทที่ต้องอาศัยความรู้และทักษะเป็นพิเศษ

 6.  ส่งเสริมความเสมอภาคในการศึกษา ด้วยการ  4.  ปรับปรุงโครงการอาชีวศึกษาประเภทหลักสูตรระยะสั้น เพื่อใช้สถานที่และ
 ปรับปรุงและขยายการศึกษาในส่วนภูมิภาค  เครื่องมือที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 เร่งรัดให้การศึกษาที่เหมาะสมแก่ประชาชนตาม  ระดับการฝึกหัดครู

 ท้องถิ่น โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่มีลักษณะพิเศษ   1.  ปรับปรุงและขยายการฝึกหัดครูทั้งสายสามัญและสายอาชีพ ในสาขาวิชาที่
 7.  ส่งเสริมให้เอกชนได้มีส่วนในการจัดการศึกษาใน  จ าเป็น เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศ ทั้งนี้ โดยจัดโครงการ
 อัตราส่วนและวิถีทางที่เหมาะสม และหา  สนับสนุนให้นักศึกษาในท้องถิ่นนั้น ๆ เข้าเรียนการฝึกหัดครูแล้วกลับไปท า

 มาตรการส่งเสริมให้มีความร่วมมืออย่างใกล้ชิด  การสอนในภูมิล าเนาของตนด้วย
 ระหว่างสถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆ ทั้งของ  2.  เน้นเรื่องการเตรียมครูที่มีวุฒิทุกระดับเพื่อสอนในสถาบันการฝึกหัดครูให้
 รัฐบาลและเอกชนที่มีส่วนร่วมในงานพัฒนา  เพียงพอแก่ความต้องการในการขยายกิจการฝึกหัดครู

 เศรษฐกิจสาขาต่าง ๆ   3.  ปรับปรุงหลักสูตรการฝึกหัดครูทุกระดับเพื่อให้มีมาตรฐานสูง และ
                 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในระบบสังคม





                    เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 47
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65