Page 77 - ED211
P. 77
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
ให้เป็นไปอย่างสม่ าเสมอ และให้การอบรมครูทั้ง 2.4) จัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนให้แก่ 5. ให้มีการสอนจริยศึกษา เน้นการปฏิบัติและการวัดผลการศึกษา
ทางด้านจรรยาบรรณและวิชาการแก่ครู นักเรียนยากจนและขาดแคลนร้อยละ 25 6. ให้พิจารณาขยายชั้นเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาให้ถึงระดับมัธยม
ประจ าการ เร่งการผลิตและการกระจาย ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ต้น โดยเฉพาะโรงเรียนในต าบลใหญ่และมีนักเรียนหนาแน่น
แบบเรียน อุปกรณ์การเรียนการสอนให้ได้ครบ 2.5) พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการ การมัธยมศึกษา
ทุกโรงเรียนทันเวลา และลดอัตราการตกซ้ าซ้อน ศึกษาสาขาทางด้านครูช่างให้ได้สัดส่วนกับ 1. ปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างการบริหารให้กระจายไปสู่ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น
3. นโยบายด้านความเสมอภาคจะมุ่งกระจาย การขยายอาชีพ ด้านอุดมศึกษาจะยกวุฒิ 2. เร่งเพิ่มครูสายวิชาชีพ และฝึกอบรมครูประจ าการให้เข้าใจและ
สถานศึกษาทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพให้ลงใน อาจารย์ ปริญญาเอก : โท : ตรี เป็น 2.5 : กระตือรือล้นในการสอนตามแนวความคิดของหลักสูตรใหม่ ส าหรับครู
พื้นที่และกลุ่มประชากรที่เหมาะสมพร้อมทั้ง 5.5 : 2 ด้านวิทยาศาสตร์จะต้องมีการปรับปรุงสมรรถภาพของการสอนพื้นฐาน
สนับสนุนและส่งเสริมให้ชาวชนบท และกลุ่มชน 3. ด้านความเสมอภาค ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ทักษะขบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์
ที่ด้อยโอกาส ได้รับบริการทางการศึกษาใน 3.1) เด็กที่มีอายุครบ 6 ปีบริบูรณ์ ได้รับโอกาส 3. ให้มีการเลือกเรียนวิชาชีพหลักให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
อัตราส่วนที่มากขึ้นเป็นพิเศษ เข้ารับการศึกษาระดับประถมหนึ่งทุกคน 4. เร่งพัฒนาโรงเรียนมัธยมที่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องมือช่วยสอนให้
4. นโยบายส่งเสริมและเร่งรัดการผลิตก าลังคนให้มี และจะให้มีโรงเรียนประถมศึกษาทุกต าบล มีความสมบูรณ์ในการจัดวิชาชีพตามหลักสูตรมัธยมปลาย ซึ่งมีอยู่ประมาณ
ความสอดคล้องและสัมพันธ์กับตลาดแรงงาน จะ 3.2) กระจายโรงเรียนมัธยมต้นออกสู่ชนบทที่ 100 โรงเรียน และให้สามารถเป็นพี่เลี้ยงแก่โรงเรียนใกล้เคียงได้
เร่งปรับปรุงด้านวิชาการและวิชาชีพของ ยากจนและทุรกันดาร โดยจะมีโรงเรียน 5. ให้มีการทบทวนการใช้ครูในระดับนี้ เพราะอัตราส่วนครูต่อนักเรียนยังต่ า
สถานศึกษาทุกลักษณะศึกษา ทุกลักษณะงานใน หนึ่งโรงต่อห้าต าบลใหญ่ และจัดตั้ง ท าให้งบประมาณ ส่วนใหญ่ตกเป็นเงินเดือน
ด้านหลักสูตรนวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ โรงเรียนเพิ่มขึ้นประมาณ 130 โรงเรียน 6. ปรับปรุงการวัดผลการศึกษา เน้นการวัดคุณภาพของผู้ส าเร็จและความ
เพื่อด าเนินการผลิต บุคลากรระดับพื้นฐาน ระหว่างแผน และอาจเพิ่มอีก 120 แห่ง เบ็ดเตล็ดของหลักสูตร โดยพิจารณาตัวชี้น าที่เหมาะสม
ระดับกลาง และระดับสูง ให้สอดคล้องและ หากสถานะการเงินและทรัพยากร 7. ให้มีการอบรมด้านจริยศึกษา เน้นการปฏิบัติและการวัดผล
เหมาะสมกับความต้องการของตลาดแรงงาน เอื้ออ านวย 8. ให้มีการพิจารณาการตีราคาประกาศนียบัตรแก่ผู้จบมัธยมตามหลักสูตร
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 56