Page 82 - ED211
P. 82
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
แต่ละสถาบัน ได้มีการแบ่งซอยออกเป็นหลายระดับ เช่น ปวช. ปวส. ปม.
และปริญญาตรี ท าให้เกิดการสับสนและลงทุนซ้ าซ้อนเกิดการสูญเปล่า
ทางการศึกษา
6. สนับสนุนให้เอกชนได้มีบทบาทเข้ามาร่วมรับภาระการลงทุนในระดับนี้ให้
มากขึ้น โดยเฉพาะในสาขาพณิชยกรรม คหกรรม โดยรัฐจะชะลอการ
ขยายตัวในสาขานี้
7. จะเน้นการผลิตในสาขาช่างอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในปริมาณ
เหมาะสมและสอดคล้องกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยี และ
พลังงาน ทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาวเพิ่มการผลิตในสาขาวิชาที่
จ าเป็นใหม่ ๆ โดยเฉพาะด้านพาณิชยนาวี การพัฒนาก๊าซธรรมชาติ และ
ช่างฝีมือในสาขาที่หายากและก าลังจะขาดแคลน คือ ช่างไม้ ช่างปูน และ
ช่างเชื่อม ขณะเดียวกันลดการผลิตในสาขาที่เกินความต้องการ เช่น
พณิชยกรรมและช่างอุตสาหกรรมบางสาขา ส่วนในด้านการเกษตรจะเร่ง
ผลิตบุคลากรเกษตรกรรมในด้านสัตวบาล และสาขาการประมงให้มากขึ้น
8. พิจารณาให้มีการปรับปรุงเงินบ ารุงการศึกษาในสถานศึกษาของรัฐและ
เอกชนให้อยู่ในอัตราที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
9. เร่งระดมการฝึกอบรมครูวิชาชีพทุกสาขา ทั้งครูก่อนประจ าการและครู
ประจ าการอย่างสม่ าเสมอ ให้ทันกับความเจริญทางเทคโนโลยีของโลก
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 58