Page 96 - ED211
P. 96
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
มั่นใจที่จะเรียนให้ส าเร็จเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานตามสติปัญญาและ
ความสามารถทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ให้ด าเนินการร่วมกันระหว่างกรมวิชาการ
กรมแรงงาน ส านักงานศึกษาธิการเขต ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด และ
หน่วยงานทางด้านพาณิชย์ และอุตสาหกรรมของเอกชน
6. ให้มีการวางขั้นตอนและเตรียมการรับนักเรียน นิสิตและนักศึกษาในแต่ละ
ลักษณะการศึกษาให้สอดคล้องและสัมพันธ์กับแนวทางการแนะแนว
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างส านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ และ
ทบวงมหาวิทยาลัย
6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่หก (พ.ศ.2530-2534)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 ปรับแนวทางการพัฒนา วัตถุประสงค์ แนวทาง
จากแนวทางการพัฒนาสังคมส่วนรวมมาให้ เพื่อพัฒนาคนให้มีความรู้ มีสติปัญญา มีเหตุผล ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้งบพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรม โดยมุ่งเน้น
ความส าคัญแก่การพัฒนาสังคมในระดับพื้นฐาน คือ มีคุณธรรมและวัฒนธรรม มีพลานามัยที่สมบูรณ์ มี การใช้ทรัพยากรร่วมกันและประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้เกิดการ
ระดับคน ครอบครัว และชุมชน อันเป็นส่วนย่อยของ ทักษะในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้ เป็น ประหยัดและมีประสิทธิภาพในการพัฒนาด้านคุณภาพและแก้ไขการขยายตัว
สังคมให้มากขึ้น หากได้มีการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ สมาชิกที่ดีของสังคม มีความรู้ความสามารถใน ด้านปริมาณ
สูงขึ้นแล้ว ก็ย่อมจะส่งผลให้ชุมชนและสังคมโดย เทคโนโลยีที่เหมาะสม และเป็นก าลังในการพัฒนา มาตรการ
ส่วนรวมมีคุณภาพดีขึ้นตามไปด้วย ซึ่งแนวทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ก าหนดมาตรการ เพื่อด าเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 ไว้
พัฒนาคุณภาพของคนในแนวทางนี้จะสอดคล้องกับ เป้าหมาย ดังนี้
แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยส่วน- 1. จัดการศึกษาและฝึกอบรมทั้งในและนอกระบบ 1. ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้งบพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรม โดยมุ่งเน้น
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 65