Page 28 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 28

2. กลุ่มปลาท้องถิ่น
            ปลาน้้าหมึกเหลือง
            ชื่อสามัญ Yellow Baril
                        ์
            ชื่อวิทยาศาสตร Barilius pulchellus (Smith, 1931)
















            ลักษณะทั่วไป: ล้าตัวค่อนข้างยาวแบนข้าง ในฤดูผสมพันธุ์มีตุ่มสิวจ้านวนมากบนแก้ม
                    และขากรรไกรล่าง มีปมขนาดเล็กที่ปลายของขากรรไกรลาง เสนขางตว
                                                              ่
                                                                        ั
                                                                   ้
                                                                     ้
                                                              ี
                    สมบูรณ์และมีจุดสิ้นสุดต่้ากว่ากึ่งกลางคอดหาง มีเหงือกเทยม มีแถบบน
                                                                   ี
                                                                        ี
                                                                    ้
                    ล้าตัวในแนวขวางเป็นสีด้า สีพื้นบนล้าตัวเป็นสีเงิน ครีบหลังเป็นสสม ครบ
                    หางและครีบก้นมีสีเหลือง (Smith, 1945; และ Taki, 1974) แถบของ
                                                                ่
                                                            ี
                                                                   ้
                                                                        ่
                    จุดสีด้าของครีบหลังอยู่ในต้าแหน่งพังผืดระหว่างก้านครบแตละกาน ตาง
                                                     ี่
                    จาก B. infrafasciatus (Tejavej, 2013) ทแถบของจุดสีด้าอยู่ติดกับก้าน
                    ครีบหลัง
                        ์
            การใช้ประโยชน: บริโภคกันภายในบางท้องที่ เป็นที่นิยมเป็นปลาสวยงาม
            ขนาดใหญ่ที่สุด: 10 เซนติเมตร
            การกระจายพันธุ์: ตัวเล็กอาศัยอยู่บริเวณน้้าคอนขางนิ่งของลาธาร พบมากแถบ
                                                           ้
                                                 ้
                                              ่
                    เอเชียตะวันออกเฉียงใต  ้
            ถิ่นอาศัย: พบในแม่น้้าและล้าคลองสายใหญ่
            อาหารธรรมชาติ: แมลงน้้า แมลงบก
                                                                        ็
            สถานภาพ: พบได้บ่อย เป็นชนิดที่มีศักยภาพเชิงพานิชย์ โดยเฉพาะการเลี้ยงเพื่อเปน
                    ปลาสวยงาม แต่ยังต้องท้าการศึกษาต่อไป
                                      24                        การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33