Page 25 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 25
ปลาช่อน ปลาหลิม (ภาคเหนือ) ค้อ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ชื่อสามัญ Striped snake-head fish
์
ชื่อวิทยาศาสตร Channa striata (Bloch, 1793)
่
ลักษณะทั่วไป: ปลาช่อนเป็นปลามีเกล็ด ล้าตัวอ้วนกลมและยาวเรียว ทอนหางแบน
ข้าง หัวแบนลงเกล็ดมีขนาดใหญ่และเกล็ดตามล้าตัวเป็นสีเทาจนถึงน้้าตาล
อมเทา ปากกว้างมาก มุมปากยาวถึงตา ริมฝีปากล่างยื่นยาวกว่าริมฝีปากบน
ครีบทุกครีบไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหลังและครีบก้นยาวจนเกือบถึงโคนหาง
ครีบอกมีขนาดใหญ่ ครีบท้องมีขนาดเล็ก ครีบหางกลม โคนครบหางแบน
ี
ข้างมาก ล้าตัวส่วนหลังมีสีด้า ท้องสีขาว ด้านข้างล้าตวมีลายดาพาดเฉยง
ั
้
ี
่
ิ
เกล็ดตามเส้นข้างล้าตัวมีจ้านวน 49-55 เกล็ด และมีอวัยวะพเศษชวยใน
การหายใจ ปลาช่อนจึงมีความอดทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี อยู่ในที่ชื้น ๆ ได ้
ี่
นาน และสามารถเคลื่อนทบนบกเพื่ออพยพข้ามบ่อได้เมื่อฝนตกหนัก
ื่
้
็
ั
ี่
การใช้ประโยชน์: เลี้ยงเพื่อการบริโภค เพอการคา เปนปลาทยงไม่สามารถเพาะ
ู
ขยายพันธุ์ได้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ยังคงมีการเก็บรวมรวบลก
ปลาจากธรรมชาติ
ขนาดใหญ่ที่สุด: ขนาดล้าตัวประมาณ 30-40 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์: พบอาศัยอยู่ในแหล่งน้้าทั่วประเทศไทย พบไปจนถึงเอเชีย
้
ใต พม่าและอินโดนีเซีย
ถิ่นอาศัย: พบอาศัยแพร่กระจายทั่วไปตามแหล่งน้้าทั่ว
สถานภาพ: พบได้บ่อยในสภาพเกือบทุกแหล่งน้้า เป็นปลาที่นิยมบริโภค เปนปลากน
ิ
็
เนื้อที่พบได้ในบ่อเลี้ยงเช่นเดียวกับปลาก้าง ที่มีการอพยพมาด้วยการคลาน
มากับน้้า เช่นเดียวกับปลาหมอ
21 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง